Microsoft Office 2010
ผลิตงานอย่างมืออาชีพ
Microsoft Offive 2010 เพียบพร้อมด้วยเครื่องมือ และคุณลักษณะใหม่ที่ได้รับการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น
เพื่อช่วยคุณสร้าง, ติดต่อสื่อสาร และทำงานได้อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าคุณจะทำงานอยู่ที่บ้าน ในสำนักงาน
หรือโรงเรียน ประกอบด้วย
MS Word
Excel
PowerPoint
Access
Outlook
OneNote
InfoPath
Publisher
SharePoint
Communicator
รวมถึงการเชื่อมต่อกับ Office Web Apps เป็นต้น ด้วยโปรแกรมประยุกต์ที่สามารถทำงานได้จากทุกที่
บนพีซี โทรศัพท์มือถือ และโปรแกรม Web Browser และเครื่องมือที่มีความสามารถระดับมืออาชีพ
Office 2010 ยังสามารถสร้างงานนำเสนอความคิดของคุณได้อย่างน่าสนใจ และง่ายมากขึ้น
ด้วยการออกแบบที่พร้อมใช้งาน และมีความสามารถในการแก้ไขที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
คุณลักษณะของ Microsoft Office 2010
1. คุณลักษณะการแก้ไขรูปภาพ และสื่อให้ดีขึ้น โดยสามารถเติมความคิดสร้างสรรค์ลงในงานของคุณ
ได้อย่างง่ายดาย
2. คุณลักษณะการค้นหาเมนูคำสั่งที่ง่ายยิ่งขึ้น ด้วย Ribbon ที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น
คุณสามารถเข้าถึงคำสั่งเพิ่มเติมได้อย่างรวดเร็ว และกำหนดคำสั่งต่างๆ เอง
เพื่อให้เหมาะกับลักษณะการทำงานของคุณได้
3. คุณลักษณะการวิเคราะห์ข้อมูลของคุณได้ง่ายขึ้น
ตลอดจนการนำเสนอข้อมูลด้วยวิธีเข้าใจได้โดยง่าย ด้วยโปรแกรม MS Excel 2010
4. คุณลักษณะการรับข้อมูลที่ต้องการได้ทุกที่ ทุกเมื่อ และทุกรูปแบบ ด้วยโปรแกรม MS Office Web Apps
ที่ทำงานควบคู่กับโปรแกรม MS Office 2010
싼야민공-Phomthong's LiveTV 3G+ Online
phomthong on livestream.com. Broadcast Live Free
Chat
My iPhone3G
Tuesday, 26 October 2010
Microsoft Windows 7
Microsoft Windows 7
ทำให้การทำงานในชีวิตประจำวันเป็นเรื่องง่าย
10 เหตุผลที่ควรซื้อ วินโดวส์ เซเว่น.. Windows 7 คุณเคยบอกให้เราทำ Windows ให้ใช้งานง่ายขึ้น ตอบสนองได้ดีขึ้น และเพียบพร้อม ด้วยความสามารถใหม่ๆ ซึ่งเราก็รับฟังและได้ปรับปรุงสิ่งต่างๆ มากมาย และนี่คือ การปรับปรุงสำคัญ 10 ประการ ที่เราทำ..
1) เดสก์ท็อปที่ดีขึ้น Windows 7 ทำให้คุณใช้งานพีซีได้เร็วขึ้นกว่าที่เคย แถบงานมีปุ่มใหญ่ขึ้นและภาพตัวอย่างแบบเต็มขนาด คุณสามารถตรึงโปรแกรมกับแถบงานเพื่อให้สามารถเข้าถึงได้ในคลิกเดียว รายการทางลัด ใช้เป็นทางลัดไปยังแฟ้ม โฟลเดอร์ และเว็บไซต์ต่างๆ และ Snap, Peek และ Shake เพื่อให้ คุณสลับหน้าต่างทั้งหมดที่เปิดอยู่ด้วยวิธีการใหม่ๆ ได้ง่าย (และสนุกด้วย)
2. การค้นหาที่อัจฉริยะยิ่งขึ้น
เพียงพิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในกล่องค้นหาของเมนู 'เริ่ม' คุณจะได้เห็นผลลัทธ์ที่แบ่งกลุ่มตามประเภท เช่น เอกสาร รูปภาพ เพลง อีเมล และโปรแกรมต่างๆ ได้ในทันที
3. ใช้งานร่วมกันได้ง่ายๆ ด้วย โฮมกรุ๊ป
การใช้แฟ้ม และเครื่องพิมพ์ร่วมกันบนเครือข่ายในบ้านควรเป็นสิ่งที่ทำได้ง่าย ซึ่งคุณเองก็ทำได้เมื่อมีโฮมกรุ๊ป เพียงแค่คุณเชื่อมต่อพีซีที่ใช้ Windows 7 ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป เท่านี้คุณก็เริ่มใช้เพลง รูปภาพ วิดีโอ และเอกสารต่างๆ ร่วมกับบุคคลอื่นในบ้านคุณได้ โดยแทบไม่ยุ่งยากอะไรเลย
4. สร้างมาให้เร็วทันใจ
Windows 7 มีการปรับปรุงประสิทธิภาพที่สำคัญเพื่อให้ใช้หน่วยความจำน้อยลง และใช้บริการแบบทำงานเบื้องหลังเฉพาะเมื่อจำเป็นเท่านั้น ระบบปฎิบัตการนี้ ได้รับการออกแบบมาให้คุณใช้งานโปรแกรมได้เร็วขึ้น เข้าสู่โหมดสลีป กลัมมาทำงานต่อ และเชื่อมต่อใหม่กับเครือข่ายไร้สายได้รวดเร็วขึ้นอีกด้วย
5. ระบบเครือข่ายแบบไร้สายที่ดียิ่งขึ้น
การเชื่อมต่อกับเครือข่ายไร้สายบนแล็ปท็อปของคุณ อาจเคยเป็นเรื่องยุ่งยากเล็กน้อยแต่ตอนนี้คุณทำได้ด้วยการคลิก เพียงสองครั้ง คลิกหนึ่งครั้งเพื่อเลือกเครือข่ายที่มีอยู่ในรายการบนแถบงานแล้วคลิกเชื่อมต่อ และเมื่อคุณเชื่อมต่อกับเครือข่ายได้แล้วWindows 7 จะจดจำเครือข่ายนั้นไว้ เพื่อให้คุณเชื่อมต่อได้โดยอัตโนมัติในภายหลัง
6. Windows Touch
ครั้งแรกกับการเรียกดูเว็บ พลิกดูภาพถ่าย และเปิดแฟ้มหรือโฟลเดอร์บนพีซีแบบหน้าจอสัมผัสได้ด้วยปลายนิ้วมือ เมื่อคุณใช้ Windows 7 ที่มีเทคโนโลยีมัลติทัชอย่างแท้จริง การสัมผัสด้วยท่าทางต่างๆ เพื่อย่อ / ขยาย หมุน หรือแม้แต่คลิกขวา ถือเป็นวิธีใหม่ในการทำงานกับพีซีของคุณ
7. สนุกสนานกับอุปกรณ์
Device Stage เป็นคุณลักษณะใหม่ใน Windows 7 ทำงานเหมือนเป็นโฮมเพจสำหรับสิ่งต่างๆ เช่น เครื่องเล่นเพลงแบบพกพา สมาร์ทโฟน และเครื่องพิมพ์ เมื่อคุณเสียบอุปกรณ์ที่เข้ากันได้กับพีซีคุณจะเห็นเมนูที่มีข้อมูลและงานยอดนิยมต่าง ๆ เช่น อายุการใช้งานแบตเตอรี่ จำนวนภาพถ่ายที่พร้อมสำหรับดาวน์โหลด และตัวเลือกการพิมพ์ต่างๆ
8. การส่งกระแสข้อมูลสื่อคุณลักษณะใหม่
ใน Windows Media Player 12 ช่วยให้คุณสนุกสนานกับไลบรารี่สื่อทั้งที่อยู่ในบ้านและในเมืองที่คุณอาศัยอยู่ได้
9. ทำให้คอมพิวเตอร์คุณเป็นแบบส่วนบุคคล
Windows7 ช่วยให้คุณสามารถแสดงตัวตนของคุณด้วยการกำหนดรูปแบบพื้นหลังของเดสก์ท็อปการนำเสนอภาพนิ่งบนเดสก์ท็อป และอื่นๆ ด้วยตนเอง
10. การแจ้งเตือนที่ไม่รบกวนคุณ
ศูนย์ปฏิบัติการ ซึ่งเป็นคุณลักษณะใหม่ใน Windows 7 ทำให้คุณควบคุมข้อความเกี่ยวกับการบำรุงรักษาและความปลอดภัยได้ คุณสามารถเปิดหรือปิดการแจ้งเตือนสำหรับคุณลักษณะต่างๆ เช่น Windows Defender หรือ การควบคุมบัญชีผู้ใช้
ทำให้การทำงานในชีวิตประจำวันเป็นเรื่องง่าย
10 เหตุผลที่ควรซื้อ วินโดวส์ เซเว่น.. Windows 7 คุณเคยบอกให้เราทำ Windows ให้ใช้งานง่ายขึ้น ตอบสนองได้ดีขึ้น และเพียบพร้อม ด้วยความสามารถใหม่ๆ ซึ่งเราก็รับฟังและได้ปรับปรุงสิ่งต่างๆ มากมาย และนี่คือ การปรับปรุงสำคัญ 10 ประการ ที่เราทำ..
1) เดสก์ท็อปที่ดีขึ้น Windows 7 ทำให้คุณใช้งานพีซีได้เร็วขึ้นกว่าที่เคย แถบงานมีปุ่มใหญ่ขึ้นและภาพตัวอย่างแบบเต็มขนาด คุณสามารถตรึงโปรแกรมกับแถบงานเพื่อให้สามารถเข้าถึงได้ในคลิกเดียว รายการทางลัด ใช้เป็นทางลัดไปยังแฟ้ม โฟลเดอร์ และเว็บไซต์ต่างๆ และ Snap, Peek และ Shake เพื่อให้ คุณสลับหน้าต่างทั้งหมดที่เปิดอยู่ด้วยวิธีการใหม่ๆ ได้ง่าย (และสนุกด้วย)
2. การค้นหาที่อัจฉริยะยิ่งขึ้น
เพียงพิมพ์สิ่งที่ต้องการลงในกล่องค้นหาของเมนู 'เริ่ม' คุณจะได้เห็นผลลัทธ์ที่แบ่งกลุ่มตามประเภท เช่น เอกสาร รูปภาพ เพลง อีเมล และโปรแกรมต่างๆ ได้ในทันที
3. ใช้งานร่วมกันได้ง่ายๆ ด้วย โฮมกรุ๊ป
การใช้แฟ้ม และเครื่องพิมพ์ร่วมกันบนเครือข่ายในบ้านควรเป็นสิ่งที่ทำได้ง่าย ซึ่งคุณเองก็ทำได้เมื่อมีโฮมกรุ๊ป เพียงแค่คุณเชื่อมต่อพีซีที่ใช้ Windows 7 ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป เท่านี้คุณก็เริ่มใช้เพลง รูปภาพ วิดีโอ และเอกสารต่างๆ ร่วมกับบุคคลอื่นในบ้านคุณได้ โดยแทบไม่ยุ่งยากอะไรเลย
4. สร้างมาให้เร็วทันใจ
Windows 7 มีการปรับปรุงประสิทธิภาพที่สำคัญเพื่อให้ใช้หน่วยความจำน้อยลง และใช้บริการแบบทำงานเบื้องหลังเฉพาะเมื่อจำเป็นเท่านั้น ระบบปฎิบัตการนี้ ได้รับการออกแบบมาให้คุณใช้งานโปรแกรมได้เร็วขึ้น เข้าสู่โหมดสลีป กลัมมาทำงานต่อ และเชื่อมต่อใหม่กับเครือข่ายไร้สายได้รวดเร็วขึ้นอีกด้วย
5. ระบบเครือข่ายแบบไร้สายที่ดียิ่งขึ้น
การเชื่อมต่อกับเครือข่ายไร้สายบนแล็ปท็อปของคุณ อาจเคยเป็นเรื่องยุ่งยากเล็กน้อยแต่ตอนนี้คุณทำได้ด้วยการคลิก เพียงสองครั้ง คลิกหนึ่งครั้งเพื่อเลือกเครือข่ายที่มีอยู่ในรายการบนแถบงานแล้วคลิกเชื่อมต่อ และเมื่อคุณเชื่อมต่อกับเครือข่ายได้แล้วWindows 7 จะจดจำเครือข่ายนั้นไว้ เพื่อให้คุณเชื่อมต่อได้โดยอัตโนมัติในภายหลัง
6. Windows Touch
ครั้งแรกกับการเรียกดูเว็บ พลิกดูภาพถ่าย และเปิดแฟ้มหรือโฟลเดอร์บนพีซีแบบหน้าจอสัมผัสได้ด้วยปลายนิ้วมือ เมื่อคุณใช้ Windows 7 ที่มีเทคโนโลยีมัลติทัชอย่างแท้จริง การสัมผัสด้วยท่าทางต่างๆ เพื่อย่อ / ขยาย หมุน หรือแม้แต่คลิกขวา ถือเป็นวิธีใหม่ในการทำงานกับพีซีของคุณ
7. สนุกสนานกับอุปกรณ์
Device Stage เป็นคุณลักษณะใหม่ใน Windows 7 ทำงานเหมือนเป็นโฮมเพจสำหรับสิ่งต่างๆ เช่น เครื่องเล่นเพลงแบบพกพา สมาร์ทโฟน และเครื่องพิมพ์ เมื่อคุณเสียบอุปกรณ์ที่เข้ากันได้กับพีซีคุณจะเห็นเมนูที่มีข้อมูลและงานยอดนิยมต่าง ๆ เช่น อายุการใช้งานแบตเตอรี่ จำนวนภาพถ่ายที่พร้อมสำหรับดาวน์โหลด และตัวเลือกการพิมพ์ต่างๆ
8. การส่งกระแสข้อมูลสื่อคุณลักษณะใหม่
ใน Windows Media Player 12 ช่วยให้คุณสนุกสนานกับไลบรารี่สื่อทั้งที่อยู่ในบ้านและในเมืองที่คุณอาศัยอยู่ได้
9. ทำให้คอมพิวเตอร์คุณเป็นแบบส่วนบุคคล
Windows7 ช่วยให้คุณสามารถแสดงตัวตนของคุณด้วยการกำหนดรูปแบบพื้นหลังของเดสก์ท็อปการนำเสนอภาพนิ่งบนเดสก์ท็อป และอื่นๆ ด้วยตนเอง
10. การแจ้งเตือนที่ไม่รบกวนคุณ
ศูนย์ปฏิบัติการ ซึ่งเป็นคุณลักษณะใหม่ใน Windows 7 ทำให้คุณควบคุมข้อความเกี่ยวกับการบำรุงรักษาและความปลอดภัยได้ คุณสามารถเปิดหรือปิดการแจ้งเตือนสำหรับคุณลักษณะต่างๆ เช่น Windows Defender หรือ การควบคุมบัญชีผู้ใช้
Tuesday, 28 September 2010
Hot Links
Top Hits Blogs Networks
BEC: วิถีชุมชนคริสตชน วิถีชุมชนวัด คริสตชนกลุ่มย่อย(คาทอลิก)http://v-bec.blogspot.com/
Words.comhttp://km-e-commerce-intrendstory.blogspot.com/
รถยนต์ใหม่ๆ New Carshttp://cars-trend.blogspot.com/
Free Animation 3D 4D visualhttp://free-download-animations.blogspot.com/
ตรวจรางวัลล็อตเตอรี่ Thai Lottery Polehttp://lottorypole.blogspot.com/
Free Driver IT Gadgetshttp://driver-it.blogspot.com/
ไวรัสคอมพิวเตอร์ใหม่ รวมโปรแกรมฆ่าไวรัสคอมพิวเตอร์ออนไลน์ฟรีhttp://kill-viruscom.blogspot.com/
เด็กดีดอทคอม รวมพลเด็กไอทีออนไลน์ ยุค 3จีhttp://v-dekdee.blogspot.com/
มอเตอร์ไซค์คู่ใจhttp://v-bigbike.blogspot.com/
ธุรกิจออนไลน์ อีคอมเมิร์ก V money Onlinehttp://tvi-hit.blogspot.com/
สุนัขแสนรู้...http://doghit.blogspot.com/
เรียนภาษาออนไลน์ จีนกลาง ญี่ปุ่น เกาหลีง่ายๆhttp://japanese-hi.blogspot.com/
ของมีคม.. นักสะสมดาบกระบี่โบราณออนไลน์http://v-sword.blogspot.com/
คำสอนคาทอลิกออนไลน์http://v-catechism.blogspot.com/
นักขับร้อง ประสานเสียงคาทอลิก รวมเพลงวัด คริสเตียนhttp://nicholas-choir.blogspot.com/
รวมเรื่องไอที แผนการสอน อีบุ๊ค ยุค 3 g, 3.9 G , 4Ghttp://cai-computer.blogspot.com
ชิลๆ ลั้ลลาบอร์ด คนวัยทีนอินเทรนด์http://www.bkk.in.th/caicomputer/1933นานาคริสตังค์ รวมเรื่องนารู้สาระคำสอนคาทอลิกhttp://www.bkk.in.th/ShowBoard.aspx?Username=caicomputer&BoardID=3118
BEC: วิถีชุมชนคริสตชน วิถีชุมชนวัด คริสตชนกลุ่มย่อย(คาทอลิก)http://v-bec.blogspot.com/
Words.comhttp://km-e-commerce-intrendstory.blogspot.com/
รถยนต์ใหม่ๆ New Carshttp://cars-trend.blogspot.com/
Free Animation 3D 4D visualhttp://free-download-animations.blogspot.com/
ตรวจรางวัลล็อตเตอรี่ Thai Lottery Polehttp://lottorypole.blogspot.com/
Free Driver IT Gadgetshttp://driver-it.blogspot.com/
ไวรัสคอมพิวเตอร์ใหม่ รวมโปรแกรมฆ่าไวรัสคอมพิวเตอร์ออนไลน์ฟรีhttp://kill-viruscom.blogspot.com/
เด็กดีดอทคอม รวมพลเด็กไอทีออนไลน์ ยุค 3จีhttp://v-dekdee.blogspot.com/
มอเตอร์ไซค์คู่ใจhttp://v-bigbike.blogspot.com/
ธุรกิจออนไลน์ อีคอมเมิร์ก V money Onlinehttp://tvi-hit.blogspot.com/
สุนัขแสนรู้...http://doghit.blogspot.com/
เรียนภาษาออนไลน์ จีนกลาง ญี่ปุ่น เกาหลีง่ายๆhttp://japanese-hi.blogspot.com/
ของมีคม.. นักสะสมดาบกระบี่โบราณออนไลน์http://v-sword.blogspot.com/
คำสอนคาทอลิกออนไลน์http://v-catechism.blogspot.com/
นักขับร้อง ประสานเสียงคาทอลิก รวมเพลงวัด คริสเตียนhttp://nicholas-choir.blogspot.com/
รวมเรื่องไอที แผนการสอน อีบุ๊ค ยุค 3 g, 3.9 G , 4Ghttp://cai-computer.blogspot.com
ชิลๆ ลั้ลลาบอร์ด คนวัยทีนอินเทรนด์http://www.bkk.in.th/caicomputer/1933นานาคริสตังค์ รวมเรื่องนารู้สาระคำสอนคาทอลิกhttp://www.bkk.in.th/ShowBoard.aspx?Username=caicomputer&BoardID=3118
Monday, 14 June 2010
โหลดตารางสรุปผลการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 ใหม่ทุกวัน
โหลดตารางสรุปผลการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 ใหม่ทุกวัน
สรุปผลการแข่งขันและคะแนน วันที่ 15 มิถุนายน 2553
(Summary Table of 15 June 2010)
Free Download Summary Table 2010 FIFA World Cup South Africa.
New Update Daily Everyday!
ดาวน์โหลดได้ที่นี่ http://8d5f040d.linkbucks.com
Free Download Summary Table 2010 FIFA World Cup South Africa
Click here to download new Update everyday: http://8d5f040d.linkbucks.com
สรุปผลการแข่งขันและคะแนน วันที่ 15 มิถุนายน 2553
(Summary Table of 15 June 2010)
Free Download Summary Table 2010 FIFA World Cup South Africa.
New Update Daily Everyday!
ดาวน์โหลดได้ที่นี่ http://8d5f040d.linkbucks.com
Free Download Summary Table 2010 FIFA World Cup South Africa
Click here to download new Update everyday: http://8d5f040d.linkbucks.com
Wednesday, 9 June 2010
Time Table 2010 FIFA World Cup South Africa
Time Table 2010 FIFA World Cup South Africa
-Translate to your own Languages.
ฟรีโหลดตารางแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 (ทุกนัด ทุกแม็ตช์ เวลาไทย)You can change to all your language of 2010 FIFA World Cup South Africa11 June 2010 - 11 July 2010 Free download Time Table of World Cup 2010 -Thai Time สุดยอดตารางการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010/2553 เวลาไทยพร้อมตารางการถ่ายทอดสดของไทยทีวีสี ช่อง 3 ช่อง 7 ช่อง 9 ทุกช่องมันส์ไปกับเรา..ไม่พลาดทุกความเคลื่อนไหวของฟุตบอลโลก 2010 กับเราได้ที่นี่
ดาวน์โหลดฟรีที่นี่http://46f5a641.linkbucks.com/
ฟรีดาวน์โหลด World Cup 2010 Hot Shot Clip at http://538514e2.linkbucks.com/
See Online ดูบอลโลกออนไลน์2010 FIFA World Cup South Africa
http://83ba5c4f.linkbucks.com/ at http://www.fifa.com/
-Translate to your own Languages.
ฟรีโหลดตารางแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 (ทุกนัด ทุกแม็ตช์ เวลาไทย)You can change to all your language of 2010 FIFA World Cup South Africa11 June 2010 - 11 July 2010 Free download Time Table of World Cup 2010 -Thai Time สุดยอดตารางการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010/2553 เวลาไทยพร้อมตารางการถ่ายทอดสดของไทยทีวีสี ช่อง 3 ช่อง 7 ช่อง 9 ทุกช่องมันส์ไปกับเรา..ไม่พลาดทุกความเคลื่อนไหวของฟุตบอลโลก 2010 กับเราได้ที่นี่
ดาวน์โหลดฟรีที่นี่http://46f5a641.linkbucks.com/
ฟรีดาวน์โหลด World Cup 2010 Hot Shot Clip at http://538514e2.linkbucks.com/
See Online ดูบอลโลกออนไลน์2010 FIFA World Cup South Africa
http://83ba5c4f.linkbucks.com/ at http://www.fifa.com/
Wednesday, 17 February 2010
Mobile IMT-Advanced (4G)
Mobile IMT-Advanced (4G)
Evolution towards 4G
Both 3GPP and 3GPP2 are currently working on further extensions to 3G standards, named Long Term Evolution and Ultra Mobile Broadband, respectively. Being based on an all-IP network infrastructure and using advanced wireless technologies such as MIMO, these specifications already display features characteristic for IMT-Advanced (4G), the successor of 3G. However, falling short of the bandwidth requirements for 4G (which is 1 Gbit/s for stationary and 100 Mbit/s for mobile operation), these standards are classified as 3.9G or Pre-4G.
3GPP plans to meet the 4G goals with LTE Advanced, whereas Qualcomm has halted development of UMB in favour of the LTE family.[5]
On 14 December 2009, Telia Sonera announced in an official press release that "We are very proud to be the first operator in the world to offer our customers 4G services."[15] With the launch of their LTE network, initially they are offering pre-4G (or beyond 3G) services in Stockholm, Sweden and Oslo, Norway.
Refer to http://en.wikipedia.org/wiki/3G
Evolution towards 4G
Both 3GPP and 3GPP2 are currently working on further extensions to 3G standards, named Long Term Evolution and Ultra Mobile Broadband, respectively. Being based on an all-IP network infrastructure and using advanced wireless technologies such as MIMO, these specifications already display features characteristic for IMT-Advanced (4G), the successor of 3G. However, falling short of the bandwidth requirements for 4G (which is 1 Gbit/s for stationary and 100 Mbit/s for mobile operation), these standards are classified as 3.9G or Pre-4G.
3GPP plans to meet the 4G goals with LTE Advanced, whereas Qualcomm has halted development of UMB in favour of the LTE family.[5]
On 14 December 2009, Telia Sonera announced in an official press release that "We are very proud to be the first operator in the world to offer our customers 4G services."[15] With the launch of their LTE network, initially they are offering pre-4G (or beyond 3G) services in Stockholm, Sweden and Oslo, Norway.
Refer to http://en.wikipedia.org/wiki/3G
3G Mobile Phone
3G Mobile Phone
International Mobile Telecommunications-2000 (IMT-2000), better known as 3G or 3rd Generation, is a family of standards for mobile telecommunications defined by the International Telecommunication Union,[1] which includes GSM EDGE, UMTS, and CDMA2000 as well as DECT and WiMAX. Services include wide-area wireless voice telephone, video calls, and wireless data, all in a mobile environment. Compared to 2G and 2.5G services, 3G allows simultaneous use of speech and data services and higher data rates (up to 14.0 Mbit/s on the downlink and 5.8 Mbit/s on the uplink with HSPA+). Thus, 3G networks enable network operators to offer users a wider range of more advanced services while achieving greater network capacity through improved spectral efficiency.
In 1999, ITU approved five radio interfaces for IMT-2000 as a part of the ITU-R M.1457 Recommendation; WiMAX was added in 2007.[2]
There are evolutionary standards that are backwards-compatible extensions to pre-existing 2G networks as well as revolutionary standards that require all-new networks and frequency allocations.[3] The later group is the UMTS family, which consists of standards developed for IMT-2000, as well as the independently-developed standards DECT and WiMAX, which were included because they fit the IMT-2000 definition.
The first pre-commercial 3G network was launched by NTT DoCoMo in Japan branded FOMA, in May 2001 on a pre-release of W-CDMA technology.[7] The first commercial launch of 3G was also by NTT DoCoMo in Japan on 1 October 2001, although it was initially somewhat limited in scope;[8][9] broader availability was delayed by apparent concerns over reliability.[10] The second network to go commercially live was by SK Telecom in South Korea on the 1xEV-DO technology in January 2002. By May 2002 the second South Korean 3G network was by KT on EV-DO and thus the Koreans were the first to see competition among 3G operators.
The first European pre-commercial network was at the Isle of Man by Manx Telecom, the operator then owned by British Telecom, and the first commercial network in Europe was opened for business by Telenor in December 2001 with no commercial handsets and thus no paying customers. These were both on the W-CDMA technology.
The first commercial United States 3G network was by Monet Mobile Networks, on CDMA2000 1x EV-DO technology, but this network provider later shut down operations. The second 3G network operator in the USA was Verizon Wireless in October 2003 also on CDMA2000 1x EV-DO. AT&T Mobility is also a true 3G network, having completed its upgrade of the 3G network to HSUPA.
The first pre-commercial demonstration network in the southern hemisphere was built in Adelaide, South Australia by m.Net Corporation in February 2002 using UMTS on 2100 MHz. This was a demonstration network for the 2002 IT World Congress. The first commercial 3G network was launched by Hutchison Telecommunications branded as Three in March 2003.
In December 2007, 190 3G networks were operating in 40 countries and 154 HSDPA networks were operating in 71 countries, according to the Global Mobile Suppliers Association (GSA). In Asia, Europe, Canada and the USA, telecommunication companies use W-CDMA technology with the support of around 100 terminal designs to operate 3G mobile networks.
In Europe, mass market commercial 3G services were introduced starting in March 2003 by 3 (Part of Hutchison Whampoa) in the UK and Italy. The European Union Council suggested that the 3G operators should cover 80% of the European national populations by the end of 2005.
Roll-out of 3G networks was delayed in some countries by the enormous costs of additional spectrum licensing fees. (See Telecoms crash.) In many countries, 3G networks do not use the same radio frequencies as 2G, so mobile operators must build entirely new networks and license entirely new frequencies; an exception is the United States where carriers operate 3G service in the same frequencies as other services. The license fees in some European countries were particularly high, bolstered by government auctions of a limited number of licenses and sealed bid auctions, and initial excitement over 3G's potential. Other delays were due to the expenses of upgrading equipment for the new systems.
By June 2007 the 200 millionth 3G subscriber had been connected. Out of 3 billion mobile phone subscriptions worldwide this is only 6.7%. In the countries where 3G was launched first - Japan and South Korea - 3G penetration is over 70%.[11] In Europe the leading country is Italy with a third of its subscribers migrated to 3G. Other leading countries by 3G migration include UK, Austria, Australia and Singapore at the 20% migration level. A confusing statistic is counting CDMA 2000 1x RTT customers as if they were 3G customers. If using this definition, then the total 3G subscriber base would be 475 million at June 2007 and 15.8% of all subscribers worldwide.
In Canada, Rogers Wireless was the first to implement 3G technology, with HSDPA services in eastern Canada in early 2007. Their subsidiary Fido Solutions offers 3G as well. Because they were the only incumbent carrier (out of 3) with UMTS/HSDPA capability, for 2 years Rogers was the sole provider of the popular Apple iPhone. Realizing they would miss out on roaming revenue from the 2010 Winter Olympics, Bell and Telus formed a joint venture and rolled out a shared HSDPA network using Nokia Siemens technology. Bell launched their 3G wireless lineup on 4 November 2009, and Telus followed suit a day later on 5 November 2009. With these launches, the popular iPhone is now available on all 3 incumbent national carriers.
Mobitel Iraq is the first mobile 3G operator in Iraq. It was launched commercially on February 2007.
China announced in May 2008, that the telecoms sector was re-organized and three 3G networks would be allocated so that the largest mobile operator, China Mobile, would retain its GSM customer base. China Unicom would retain its GSM customer base but relinquish its CDMA2000 customer base, and launch 3G on the globally leading WCDMA (UMTS) standard. The CDMA2000 customers of China Unicom would go to China Telecom, which would then launch 3G on the CDMA 1x EV-DO standard. This meant that China would have all three main cellular technology 3G standards in commercial use. Finally in January 2009, Ministry of industry and Information Technology of China has awarded licenses of all three standards,TD-SCDMA to China Mobile, WCDMA to China Unicom and CDMA2000 to China Telecom. The launch of 3G occurred on 1 October 2009, to coincide with the 60th Anniversary of the Founding of the People's Republic of China.
In November 2008, Turkey has auctioned four IMT 2000/UMTS standard 3G licenses with 45, 40, 35 and 25 MHz top frequencies. Turkcell has won the 45 MHz band with its €358 million offer followed by Vodafone and Avea leasing the 40 and 35 MHz frequencies respectively for 20 years. The 25 MHz top frequency license remains to be auctioned.
The first African use of 3G technology was a 3G videocall made in Johannesburg on the Vodacom network in November 2004. The first commercial launch of 3G in Africa was by EMTEL in Mauritius on the W-CDMA standard. In north African Morocco in late March 2006, a 3G service was provided by the new company Wana.
T-Mobile, a major Telecommunication services provider has recently rolled out a list of over 120 U.S. cities which will be provided with 3G Network coverage in the year 2009.[12]
In 2008, India entered into 3G Mobile arena with the launch of 3G enabled Mobile services by Mahanagar Telephone Nigam Limited (MTNL). MTNL is the first Mobile operator in India to launch 3G services.
Data rates
ITU has not provided a clear definition of the data rate users can expect from 3G equipment or providers. Thus users sold 3G service may not be able to point to a standard and say that the rates it specifies are not being met. While stating in commentary that "it is expected that IMT-2000 will provide higher transmission rates: a minimum data rate of 2 Mbit/s for stationary or walking users, and 348 kbit/s in a moving vehicle,"[13] the ITU does not actually clearly specify minimum or average rates or what modes of the interfaces qualify as 3G, so various rates are sold as 3G intended to meet customers expectations of broadband data.
[edit] Security
3G networks offer a greater degree of security than 2G predecessors. By allowing the UE (User Equipment) to authenticate the network it is attaching to, the user can be sure the network is the intended one and not an impersonator. 3G networks use the KASUMI block crypto instead of the older A5/1 stream cipher. However, a number of serious weaknesses in the KASUMI cipher have been identified [14].
In addition to the 3G network infrastructure security, end-to-end security is offered when application frameworks such as IMS are accessed, although this is not strictly a 3G property.
The bandwidth and location information available to 3G devices gives rise to applications not previously available to mobile phone users. Some of the applications are:
Mobile TV - a provider redirects a TV channel directly to the subscriber's phone where it can be watched.
Video on demand - a provider sends a movie to the subscriber's phone.
Video conferencing - subscribers can see as well as talk to each other.
Tele-medicine - a medical provider monitors or provides advice to the potentially isolated subscriber.
Location-based services - a provider sends localized weather or traffic conditions to the phone, or the phone allows the subscriber to find nearby businesses or friends.
2G networks were built mainly for voice services and slow data transmission.
[edit] From 2G to 2.5G
The first major step in the evolution to 3G occurred with the introduction of General Packet Radio Service (GPRS). So the cellular services combined with GPRS became '2.5G.'
GPRS could provide data rates from 56 kbit/s up to 114 kbit/s. It can be used for services such as Wireless Application Protocol (WAP) access, Multimedia Messaging Service (MMS), and for Internet communication services such as email and World Wide Web access. GPRS data transfer is typically charged per megabyte of traffic transferred, while data communication via traditional circuit switching is billed per minute of connection time, independent of whether the user actually is utilizing the capacity or is in an idle state.
[edit] From 2.5G to 2.75G (EDGE)
GPRS networks evolved to EDGE networks with the introduction of 8PSK encoding. Enhanced Data rates for GSM Evolution (EDGE), Enhanced GPRS (EGPRS), or IMT Single Carrier (IMT-SC) is a backward-compatible digital mobile phone technology that allows improved data transmission rates, as an extension on top of standard GSM. EDGE was deployed on GSM networks beginning in 2003—initially by Cingular (now AT&T) in the United States.
EDGE is standardized by 3GPP as part of the GSM family, and it is an upgrade that provides a potential three-fold increase in capacity of GSM/GPRS networks. The specification achieves higher data-rates by switching to more sophisticated methods of coding (8PSK), within existing GSM timeslots.
Refer to http://en.wikipedia.org/wiki/3G
International Mobile Telecommunications-2000 (IMT-2000), better known as 3G or 3rd Generation, is a family of standards for mobile telecommunications defined by the International Telecommunication Union,[1] which includes GSM EDGE, UMTS, and CDMA2000 as well as DECT and WiMAX. Services include wide-area wireless voice telephone, video calls, and wireless data, all in a mobile environment. Compared to 2G and 2.5G services, 3G allows simultaneous use of speech and data services and higher data rates (up to 14.0 Mbit/s on the downlink and 5.8 Mbit/s on the uplink with HSPA+). Thus, 3G networks enable network operators to offer users a wider range of more advanced services while achieving greater network capacity through improved spectral efficiency.
In 1999, ITU approved five radio interfaces for IMT-2000 as a part of the ITU-R M.1457 Recommendation; WiMAX was added in 2007.[2]
There are evolutionary standards that are backwards-compatible extensions to pre-existing 2G networks as well as revolutionary standards that require all-new networks and frequency allocations.[3] The later group is the UMTS family, which consists of standards developed for IMT-2000, as well as the independently-developed standards DECT and WiMAX, which were included because they fit the IMT-2000 definition.
The first pre-commercial 3G network was launched by NTT DoCoMo in Japan branded FOMA, in May 2001 on a pre-release of W-CDMA technology.[7] The first commercial launch of 3G was also by NTT DoCoMo in Japan on 1 October 2001, although it was initially somewhat limited in scope;[8][9] broader availability was delayed by apparent concerns over reliability.[10] The second network to go commercially live was by SK Telecom in South Korea on the 1xEV-DO technology in January 2002. By May 2002 the second South Korean 3G network was by KT on EV-DO and thus the Koreans were the first to see competition among 3G operators.
The first European pre-commercial network was at the Isle of Man by Manx Telecom, the operator then owned by British Telecom, and the first commercial network in Europe was opened for business by Telenor in December 2001 with no commercial handsets and thus no paying customers. These were both on the W-CDMA technology.
The first commercial United States 3G network was by Monet Mobile Networks, on CDMA2000 1x EV-DO technology, but this network provider later shut down operations. The second 3G network operator in the USA was Verizon Wireless in October 2003 also on CDMA2000 1x EV-DO. AT&T Mobility is also a true 3G network, having completed its upgrade of the 3G network to HSUPA.
The first pre-commercial demonstration network in the southern hemisphere was built in Adelaide, South Australia by m.Net Corporation in February 2002 using UMTS on 2100 MHz. This was a demonstration network for the 2002 IT World Congress. The first commercial 3G network was launched by Hutchison Telecommunications branded as Three in March 2003.
In December 2007, 190 3G networks were operating in 40 countries and 154 HSDPA networks were operating in 71 countries, according to the Global Mobile Suppliers Association (GSA). In Asia, Europe, Canada and the USA, telecommunication companies use W-CDMA technology with the support of around 100 terminal designs to operate 3G mobile networks.
In Europe, mass market commercial 3G services were introduced starting in March 2003 by 3 (Part of Hutchison Whampoa) in the UK and Italy. The European Union Council suggested that the 3G operators should cover 80% of the European national populations by the end of 2005.
Roll-out of 3G networks was delayed in some countries by the enormous costs of additional spectrum licensing fees. (See Telecoms crash.) In many countries, 3G networks do not use the same radio frequencies as 2G, so mobile operators must build entirely new networks and license entirely new frequencies; an exception is the United States where carriers operate 3G service in the same frequencies as other services. The license fees in some European countries were particularly high, bolstered by government auctions of a limited number of licenses and sealed bid auctions, and initial excitement over 3G's potential. Other delays were due to the expenses of upgrading equipment for the new systems.
By June 2007 the 200 millionth 3G subscriber had been connected. Out of 3 billion mobile phone subscriptions worldwide this is only 6.7%. In the countries where 3G was launched first - Japan and South Korea - 3G penetration is over 70%.[11] In Europe the leading country is Italy with a third of its subscribers migrated to 3G. Other leading countries by 3G migration include UK, Austria, Australia and Singapore at the 20% migration level. A confusing statistic is counting CDMA 2000 1x RTT customers as if they were 3G customers. If using this definition, then the total 3G subscriber base would be 475 million at June 2007 and 15.8% of all subscribers worldwide.
In Canada, Rogers Wireless was the first to implement 3G technology, with HSDPA services in eastern Canada in early 2007. Their subsidiary Fido Solutions offers 3G as well. Because they were the only incumbent carrier (out of 3) with UMTS/HSDPA capability, for 2 years Rogers was the sole provider of the popular Apple iPhone. Realizing they would miss out on roaming revenue from the 2010 Winter Olympics, Bell and Telus formed a joint venture and rolled out a shared HSDPA network using Nokia Siemens technology. Bell launched their 3G wireless lineup on 4 November 2009, and Telus followed suit a day later on 5 November 2009. With these launches, the popular iPhone is now available on all 3 incumbent national carriers.
Mobitel Iraq is the first mobile 3G operator in Iraq. It was launched commercially on February 2007.
China announced in May 2008, that the telecoms sector was re-organized and three 3G networks would be allocated so that the largest mobile operator, China Mobile, would retain its GSM customer base. China Unicom would retain its GSM customer base but relinquish its CDMA2000 customer base, and launch 3G on the globally leading WCDMA (UMTS) standard. The CDMA2000 customers of China Unicom would go to China Telecom, which would then launch 3G on the CDMA 1x EV-DO standard. This meant that China would have all three main cellular technology 3G standards in commercial use. Finally in January 2009, Ministry of industry and Information Technology of China has awarded licenses of all three standards,TD-SCDMA to China Mobile, WCDMA to China Unicom and CDMA2000 to China Telecom. The launch of 3G occurred on 1 October 2009, to coincide with the 60th Anniversary of the Founding of the People's Republic of China.
In November 2008, Turkey has auctioned four IMT 2000/UMTS standard 3G licenses with 45, 40, 35 and 25 MHz top frequencies. Turkcell has won the 45 MHz band with its €358 million offer followed by Vodafone and Avea leasing the 40 and 35 MHz frequencies respectively for 20 years. The 25 MHz top frequency license remains to be auctioned.
The first African use of 3G technology was a 3G videocall made in Johannesburg on the Vodacom network in November 2004. The first commercial launch of 3G in Africa was by EMTEL in Mauritius on the W-CDMA standard. In north African Morocco in late March 2006, a 3G service was provided by the new company Wana.
T-Mobile, a major Telecommunication services provider has recently rolled out a list of over 120 U.S. cities which will be provided with 3G Network coverage in the year 2009.[12]
In 2008, India entered into 3G Mobile arena with the launch of 3G enabled Mobile services by Mahanagar Telephone Nigam Limited (MTNL). MTNL is the first Mobile operator in India to launch 3G services.
Data rates
ITU has not provided a clear definition of the data rate users can expect from 3G equipment or providers. Thus users sold 3G service may not be able to point to a standard and say that the rates it specifies are not being met. While stating in commentary that "it is expected that IMT-2000 will provide higher transmission rates: a minimum data rate of 2 Mbit/s for stationary or walking users, and 348 kbit/s in a moving vehicle,"[13] the ITU does not actually clearly specify minimum or average rates or what modes of the interfaces qualify as 3G, so various rates are sold as 3G intended to meet customers expectations of broadband data.
[edit] Security
3G networks offer a greater degree of security than 2G predecessors. By allowing the UE (User Equipment) to authenticate the network it is attaching to, the user can be sure the network is the intended one and not an impersonator. 3G networks use the KASUMI block crypto instead of the older A5/1 stream cipher. However, a number of serious weaknesses in the KASUMI cipher have been identified [14].
In addition to the 3G network infrastructure security, end-to-end security is offered when application frameworks such as IMS are accessed, although this is not strictly a 3G property.
The bandwidth and location information available to 3G devices gives rise to applications not previously available to mobile phone users. Some of the applications are:
Mobile TV - a provider redirects a TV channel directly to the subscriber's phone where it can be watched.
Video on demand - a provider sends a movie to the subscriber's phone.
Video conferencing - subscribers can see as well as talk to each other.
Tele-medicine - a medical provider monitors or provides advice to the potentially isolated subscriber.
Location-based services - a provider sends localized weather or traffic conditions to the phone, or the phone allows the subscriber to find nearby businesses or friends.
2G networks were built mainly for voice services and slow data transmission.
[edit] From 2G to 2.5G
The first major step in the evolution to 3G occurred with the introduction of General Packet Radio Service (GPRS). So the cellular services combined with GPRS became '2.5G.'
GPRS could provide data rates from 56 kbit/s up to 114 kbit/s. It can be used for services such as Wireless Application Protocol (WAP) access, Multimedia Messaging Service (MMS), and for Internet communication services such as email and World Wide Web access. GPRS data transfer is typically charged per megabyte of traffic transferred, while data communication via traditional circuit switching is billed per minute of connection time, independent of whether the user actually is utilizing the capacity or is in an idle state.
[edit] From 2.5G to 2.75G (EDGE)
GPRS networks evolved to EDGE networks with the introduction of 8PSK encoding. Enhanced Data rates for GSM Evolution (EDGE), Enhanced GPRS (EGPRS), or IMT Single Carrier (IMT-SC) is a backward-compatible digital mobile phone technology that allows improved data transmission rates, as an extension on top of standard GSM. EDGE was deployed on GSM networks beginning in 2003—initially by Cingular (now AT&T) in the United States.
EDGE is standardized by 3GPP as part of the GSM family, and it is an upgrade that provides a potential three-fold increase in capacity of GSM/GPRS networks. The specification achieves higher data-rates by switching to more sophisticated methods of coding (8PSK), within existing GSM timeslots.
Refer to http://en.wikipedia.org/wiki/3G
3G Mobile Phone
3G Mobile Phone
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 3 จี
มาตรฐานโทรศัพท์มือถือยุคที่ 3
มาตรฐานโทรศัพท์มือถือยุคที่ 3 หรือรู้จักในชื่อ 3G (สามจี หรือ ธรีจี) เป็นมาตรฐานโทรศัพท์มือถือในยุคที่ 3 ถูกพัฒนาและกำลังมาแทนที่ ระบบโทรศัพท์ 2G ซึ่ง 3G นั้นพัฒนาบนพื้นฐานของมาตรฐาน International Mobile Telecommunications 2000, IMT-2000 ภายใต้กลุ่มของ International Telecommunication Union (ITU)
3G นั้น ได้พัฒนามาจาก GPRS และ EDGE ตอนนี้ได้มีในเมืองไทยแล้ว แต่ในของระบบ AIS นั้นจะทำ HSDPA หรือ 3.5G (ระบบ 3G มีใช้เฉพาะที่จังหวัด เชียงใหม่ และ กทม.) โดยขณะนี้ มีแค่ AIS ดีแทค และ ทรูมูฟ เท่านั้นที่ให้บริการ (ดีแทคยังไม่เปิดโดยทั่วไป)
มาตรฐานโทรศัพท์มือถือยุคที่ 3 หรือที่เรียกว่า ระบบ UMTS หรือ WCDMA ในระบบ GSM 850 , 900 , 1800 , 1900 และ 2100 (ที่เป็นสากลที่โทรศัพท์ระบบ 3G ต้องมี)
3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจตรงกันว่า
“ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ อาทิ กิจการประจำที่ (Fixed Service) กิจการเคลื่อนที่ (Mobile Service) บริการสื่อสารเสียง ข้อมูล อินเทอร์เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน” คือ สามารถถ่ายเท ส่งต่อข้อมูล ดิจิตอล ไปยังอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้
“ความสามารถในการใช้โครงข่ายทั่วโลก (Global Roaming) ” คือ ผู้บริโภคสามารถ ถืออุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ได้ทั่วโลก โดยไม่ต้องเปลี่ยนเครื่อง
“บริการที่ไม่ขาดตอน (Seamless Delivery Service) ” คือ การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยน เซลล์ไซต์ (Cell Site) เขาใช้คำว่า Seam less นั้นแปลว่า ไร้รอยตะเข็บนะครับ
อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล (Transmission Rate) ในมาตรฐาน IMT-2000 นั้นกำหนดไว้ว่าต้องมีอัตราความเร็วดังนี้ [1]
ในสภาวะอยู่กับที่หรือขณะเดิน มีความเร็วอย่างน้อยที่สุด 2 เมกะบิต/วินาที
ในสภาวะเคลื่อนที่โดยยานพาหนะ มีความเร็วอย่างน้อยที่สุด 384 กิโลบิต/วินาที
ทุกสภาวะ มีความเร็วอย่างมากที่สุด 14.4 เมกะบิต/วินาที
จุดเริ่มต้นของเทคโนโลยี 3G
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 (Third Generation Mobile Network หรือ 3G) เป็นเทคโนโลยียุคถัดมาจากการเปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 2 หรือ 2G ซึ่งประสบความสำเร็จในการสร้างมูลค่าทางธุรกิจสื่อสารไร้สายอย่างมหาศาลนับตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา ในยุคของโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G มีมาตรฐานที่สำคัญที่มีการนิยมใช้งานทั่วโลกอยู่ 2 มาตรฐาน กล่าวคือมาตรฐาน GSM (Global System for Mobile Communication) อันเป็นมาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรป ปัจจุบันมีส่วนแบ่งทางการตลาดทั่วโลกสูงที่สุด และมาตรฐาน CDMA (Code Division Multiple Access) อันเป็นมาตรฐานจากสหรัฐอเมริกา มีส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับที่สอง
จุดมุ่งหมายของการพัฒนามาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ขึ้น ก็เพื่อตอบสนองความต้องการใช้งานระบบสื่อสารไร้สายส่วนบุคคล (Personal Communication) ในลักษณะไร้พรมแดน (Global Communication) โดยเปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถนำเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้งานในที่ใด ๆ ก็ได้ทั่วโลกที่มีการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ดังกล่าว และยังเป็นยุคของการนำมาตรฐานสื่อสารแบบดิจิตอลสมบูรณ์แบบมาใช้รักษาความปลอดภัย และเสริมประสิทธิภาพในการสื่อสารหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นบริการส่งข้อความแบบสั้น (Short Message Service หรือ SMS) และการเริ่มต้นของยุคสื่อสารข้อมูลผ่านเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นครั้งแรก โดยมาตรฐาน GSM และ CDMA ตอบสนองความต้องการสื่อสารข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงสุด 9,600 บิตต่อวินาที ซึ่งถือว่าเพียงพอเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราเร็วของการสื่อสารผ่านโมเด็มในเครือข่ายโทรศัพท์พื้นฐานเมื่อกว่าสิบปีก่อน
การตอบรับของกลุ่มผู้บริโภคบริการสื่อสารไร้สายทั่วโลก ทำให้มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G สร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการณ์ทั่วโลกอย่างมหาศาล ก่อให้เกิดการเปิดสัมปทานและนำมาซึ่งการแข่งขันอย่างรุนแรงในแทบทุกประเทศ ซึ่งปัจจัยดังกล่าวนอกจากจะมีผลทำให้เกิดการเพิ่มจำนวนของผู้ใช้บริการอย่างก้าวกระโดดแล้ว ในขณะเดียวกันยังสร้างผลกระทบต่อรายได้โดยเฉลี่ยต่อเลขหมาย (Average Revenue per User หรือ ARPU) ของผู้ให้บริการเครือข่าย อันเนื่องมาจากการกลยุทธ์การแข่งขันด้านราคา ยิ่งเมื่อมีการเปิดตัวบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบพร้อมใช้ (Prepaid Subscriber) ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ก็ทำให้เกิดการลดถอยของ ARPU ลงอย่างต่อเนื่อง พร้อม กับปัญหาผู้ใช้บริการย้ายค่าย (Brand Switching) ที่รุนแรงขึ้น
เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อมั่นในตราสินค้าและยังเป็นการสร้างรายได้เพิ่มเพื่อชดเชย ARPU ที่ลดต่ำลง เนื่องจากปรากฏการณ์อิ่มตัวของบริการสื่อสารด้วยเสียง (Voice Service) ผู้ประกอบการในธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลกจึงมีความเห็นตรงกันที่จะสร้างบริการสื่อสารไร้สายรูปแบบใหม่ ๆ ขึ้น โดยพัฒนาเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ที่เปิดใช้งานอยู่ ให้มีศักยภาพเพิ่มเติมเพื่อรองรับบริการสื่อสารข้อมูลแบบที่มิใช่เสียง (Non-Voice Communication) พร้อมกับการวางแผนธุรกิจ แผนปฏิบัติการทางวิศวกรรม การตลาด และแผนการลงทุน เพื่อสร้างกระแสความต้องการ (Demand Aggregation) ให้กับฐานลูกค้าผู้ใช้บริการที่มีอยู่เดิม เพื่อเพิ่ม ARPU ให้สูงขึ้น พร้อม ๆ กับผลักดันให้เกิดบริการรูปแบบใหม่ ๆ ไม่ว่าจะเป็นการรับส่งข้อมูลแบบ EMS (Enhanced Messaging Service) หรือ MMS (Multimedia Messaging Service) รวมถึงบริการท่องโลกอินเทอร์เน็ตไร้สายผ่านอุปกรณ์สื่อสารรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งมีทั้งที่เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่ว ๆ ไป อุปกรณ์ไร้สายประเภท PDA (Personal Digital Assistant) และโทรศัพท์เคลื่อนที่อัจฉริยะ (Smart Phone)
เพื่อเป็นการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ที่ได้มีการลงทุนไว้แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด มาตรฐานเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลในรูปแบบใหม่ ๆ จึงถูกกำหนดขึ้น ภายใต้แนวคิดในการพัฒนาเครือข่ายเดิม ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยี HSCSD (High Speed Circuit Switching Data), GPRS (General Packet Radio Service) หรือ EDGE (Enhanced Data Rate for GPRS Evolution) ของค่าย GSM และเทคโนโลยี cdma20001xEV-DV หรือ cdma20001xEV-DO ของค่าย CDMA ดังแสดงพัฒนาการในรูปที่ 1 เรียกมาตรฐานต่อยอดดังกล่าวโดยรวมว่า เทคโนโลยียุค 2.5G/2.75G ซึ่งในช่วงเวลานี้เองที่ปรากฏมีมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ PDC (Packet Digital Cellular) เปิดให้บริการสื่อสารข้อมูลในลักษณะของเทคโนโลยี 2.5G ภายใต้ชื่อเครื่องหมายการค้า i-mode ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างมากในการเปิดศักราชของการให้บริการสื่อสารข้อมูลแบบมัลติมีเดียไร้สายในประเทศญี่ปุ่น และได้กลายเป็นต้นแบบของการจัดทำธุรกิจ Non-Voice ให้กับผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลกในเวลาต่อมา
การเติบโตของธุรกิจ Non-Voice
ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 เป็นต้นมาอันเป็นยุคเริ่มต้นของเทคโนโลยี 2.5G ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลกรวมทั้งในประเทศไทย มีการผลักดันบริการสื่อสารข้อมูลรูปแบบใหม่ ๆ ในรูปแบบ Non-Voice เพื่อสร้างกระแสนิยมในกลุ่มผู้บริโภคมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้ประโยชน์จากเครือข่าย 2.5G อย่างเต็มรูปแบบ หรือเป็นการผลักดันให้เกิดการยอมรับในบริการที่มีอยู่แล้ว อันได้แก่บริการ SMS ซึ่งในปัจจุบันจะเห็นว่าบริการเหล่านี้ได้กลายเป็นช่องทางสำคัญที่เพิ่มมูลค่าให้บริการ ARPU ของบรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ รูปที่ 2 แสดงให้เห็นถึงการเติบโตของบริการประเภทต่าง ๆ บนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในภาพรวมของทั้งทวีปเอเชียตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2544 จนถึง พ.ศ. 2553 ซึ่งในท้ายที่สุดบริการแบบ Non-Voice จะมีสัดส่วนที่เป็นนัยสำคัญต่อรายได้รวมทั้งหมด
สำหรับธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยเอง นับตั้งแต่การเปิดให้บริการประเภท Non-Voice อย่างจริงจังเมื่อต้นปี พ.ศ. 2545 เป็นต้นมา บรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ก็สามารถสร้างรายได้เพื่อเสริมทดแทนการลดทอนของค่า ARPU ภายในเครือข่ายของตน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการเปิดตัวบริการสื่อสารไร้สายมัลติมีเดียของบริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด (HUTCH) เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2546 เป็นต้นมา สภาพการแข่งขันในธุรกิจสื่อสารไร้สายในประเทศไทยก็เริ่มมุ่งความสำคัญในการสร้างบริการ Non-Voice ใหม่ ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเปิดให้บริการ MMS อย่างเป็นทางการ การคิดโปรโมชั่นกระตุ้นการท่องอินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือแม้กระทั่งการทดลองเปิดให้บริการชมภาพยนตร์ผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ (TV on Mobile) ซึ่งความพยายามของผู้ให้บริการเครือข่ายแต่ละราย ทำให้เกิดกระแสความสนใจใช้บริการ Non-Voice เพิ่มมากขึ้น
รูปที่ 3 และ 4 แสดงถึงความสำคัญของรายได้ที่เกิดขึ้นจากบริการ Non-Voice นับตั้งแต่ช่วงต้นปี พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา อันมีผลทำให้บรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถเพิ่มค่า ARPU ของตนให้มีแนวโน้มสูงขึ้น พร้อม ๆ กับการเพิ่มจำนวนผู้ใช้บริการภายในเครือข่ายของตน ซึ่งแตกต่างจากสภาพการณ์ในช่วงก่อนหน้านี้ที่รายได้เฉลี่ยของตนตกลงเรื่อย ๆ สวนทางกับการเพิ่มจำนวนของกลุ่มผู้ใช้บริการ โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาถึงกลุ่มผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่พร้อมใช้ ซึ่งถือเป็นกลุ่มผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ของประเทศ มีการเพิ่มค่า ARPU ขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้ส่วนหนึ่งจะมาจากนโยบายการตลาดของผู้ให้บริการที่มีการจำกัดเวลาในการโทรให้สัมพันธ์กับวงเงินก็ตาม แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้เช่นกันว่า ความนิยมในบริการ Non-Voice ประเภท SMS และ EMS โดยเฉพาะที่อยู่ในรูปแบบของบริการดาวน์โหลดรูปภาพ (Logo/Animation) และเสียงเรียกเข้า (Ringtone) ในกลุ่มวัยรุ่นและนักศึกษามีผลอย่างเป็นนัยสำคัญต่อการเพิ่มค่า ARPU ดังกล่าว
ข้อจำกัดของเครือข่าย 2.5G และ 2.75G
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.5G หรือ 2.75G แม้จะสามารถรองรับการสื่อสารประเภท Non-Voice ได้ แต่ก็ไม่อาจสร้างบริการประเภท Killer Application ที่ผลิกผันรูปแบบการให้บริการได้อย่างชัดเจน ดังจะเห็นได้จากสถาการณ์การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย ที่แม้จะมีการเติบโตอย่างชัดเจนในตลาดประเภท Non-Voice แต่เมื่อศึกษาอย่างละเอียดก็จะพบว่าบริการที่ประสบความสำเร็จเกือบทั้งหมด ล้วนเป็นบริการประเภท SMS และ EMS ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นการดาวน์โหลดรูปภาพหรือเสียงเรียกเข้า รวมถึงการเล่นเกมส์ตอบปัญหาหรือส่งผลโหวตที่ปรากฏอยู่ตามสื่อชนิดต่าง ๆ ซึ่งบริการเหล่านี้ล้วนเป็นบริการพื้นฐานในเครือข่าย 2G
ข้อจำกัดของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อน 2.5G และ 2.75G เกิดขึ้นมาจากความพยายามพัฒนาเครือข่าย 2G เดิม ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐาน GSM หรือ CDMA ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าการลงทุน ทำให้ผู้ให้บริการเครือข่ายไม่อาจบริหารจัดการทรัพยากรเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้อย่างคล่องตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ไม่ว่าจะเป็นย่านความถี่ 900 เมกะเฮิตรซ์ , 1800 เมกะเฮิตรซ์ หรือ 1900 เมกะเฮิตรซ์ เนื่องจากอุปกรณ์ที่มีการติดตั้งใช้งานมาตั้งแต่การเปิดให้บริการในยุค 2G ล้วนเป็นเทคโนโลยีเก่า มีการทำงานแบบ Time Division Multiple Access (TDMA) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีเก่า ต้องจัดสรรวงจรให้กับผู้ใช้งานตายตัว ไม่สามารถนำทรัพยากรเครือข่ายมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีดังกล่าวเหมาะสำหรับการสื่อสารข้อมูลแบบ Voice ซึ่งต้องการคุณภาพและความคมชัดในการสนทนา
แม้เมื่อมีการพัฒนาเทคโนโลยี GPRS และ EDGE ซึ่งถือเป็นการเสริมเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูลแบบแพ็กเกตสวิตชิ่ง (Packet Switching) ที่มีความยืดหยุ่นในการสื่อสารข้อมูลแบบ Non-Voice ในลักษณะเดียวกับที่พบในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็ตาม แต่เทคโนโลยีทั้ง 2 ประเภทนี้ก็ถือว่าเป็นการ ต่อยอด บนเครือข่ายแบบเดิมที่มีการทำงานแบบ TDMA ทำให้ผู้ให้บริการเครือข่ายต้องพะวงกับการจัดสรรทรัพยากรช่องสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการจัดสรรวงจรสื่อสารผ่านคลื่นความถี่วิทยุจากสถานีฐานไปยังเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทำให้ไม่สามารถเปิดให้บริการแบบ Non-Voice ได้อย่างเต็มรูปแบบ เนื่องจากจะทำให้เกิดผลรบกวนต่อจำนวนวงจรสื่อสารแบบ Voice มากจนเกินไป
ด้วยเหตุดังกล่าว จึงพบว่าไม่มีผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.5G หรือ 2.75G รายใดในโลก สามารถเปิดให้บริการเทคโนโลยี GPRS ด้วยอัตราเร็วสูงสุด 171 กิโลบิตต่อวินาที หรือ EDGE ด้วยอัตราเร็ว 384 กิโลบิตต่อวินาทีได้ เนื่องจากการทำเช่นนั้นจะทำให้สถานีฐาน (Base Station) ที่ทำหน้าที่รับส่งสัญญาณกับเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ไม่มีวงจรสื่อสารเหลือสำหรับให้บริการแบบ Voice อีกต่อไป ผลที่เกิดขึ้นในมุมมองของผู้ใช้บริการก็คือความเชื่องช้าในการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่าย 2.5G และ 2.75G ทำให้หมดความสนใจที่จะใช้บริการต่อไป โดยในขณะเดียวกันก็มีบริการสื่อสารอัตราเร็วสูงแบบบรอดแบนด์ผ่านคู่สาย เช่น DSL (Digital Subscriber Line) เป็นทางเลือกสำหรับใช้บริการ ความสนใจที่จะใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อรับส่งข้อมูลจึงมีอยู่เฉพาะการเล่นเกมส์และส่ง SMS, MMS ซึ่งทำได้ง่าย และมีการประชาสัมพันธ์ดึงดูดใจมากมาย
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G
เพื่อเป็นการเพิ่มความคล่องตัวในการเปิดให้บริการ Non-Voice อย่างเต็มรูปแบบ พร้อมทั้งยังคงรักษาคุณภาพในการให้บริการ Voice ด้วยระดับคุณภาพที่ทัดเทียมหรือดีกว่าในยุค 2G องค์กรสากล 3GPP (Third Generation Program Partnership) และ 3GPP2 จึงได้กำหนดมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G ขึ้น โดยมีมาตรฐานสำคัญอยู่ 2 ประเภท คือ
มาตรฐาน UMTS (Universal Mobile Telecommunications Services) เป็นมาตรฐานที่ออกแบบมาสำหรับผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้นำไปพัฒนาจากยุค 2G/2.5G/2.75G ไปสู่มาตรฐานยุค 3G อย่างเต็มตัว รับผิดชอบการพัฒนามาตรฐานโดยองค์กร 3GPP มีเทคโนโลยีหลักที่ปัจจุบันมีการยอมรับใช้งานทั่วโลกคือมาตรฐาน Wideband Code Division Multiple Access (W-CDMA) โดยในอนาคตจะมีการพัฒนาต่อเนื่องไปสู่มาตรฐาน HSDPA (High Speed Downlink Packet Access) ซึ่งรองรับการสื่อสารด้วยอัตราเร็วสูงถึง 14 เมกะบิตต่อวินาที หรือเร็วกว่าการสื่อสารแบบ 2.75G ถึง 36 เท่า มาตรฐาน W-CDMA นี้เองที่กิจการร่วมค้า ไทย - โมบาย กำลังจะดำเนินการพัฒนาเพื่อเปิดให้บริการภายในต้นปี พ.ศ. 2548 นอกจากจะเป็นเส้นทางในการพัฒนาสู่มาตรฐาน 3G ของบรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM แล้ว มาตรฐาน W-CDMA ยังได้รับการยอมรับจากผู้ให้บริการรายใหญ่อย่างบริษัท NTT DoCoMo ผู้เปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ I-mode ซึ่งใช้เทคโนโลยี PDC ให้เป็นมาตรฐาน 3G สำหรับใช้งานภายใต้เครื่องหมายการค่า “FOMA” โดยได้เปิดให้บริการในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา และปัจจุบัน W-CDMA ได้กลายเป็นเครือข่าย 3G ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มาตรฐาน cdma2000 เป็นการพัฒนาเครือข่าย CDMA ให้รองรับการสื่อสารในยุค 3G รับผิดชอบการพัฒนามาตรฐานโดยองค์กร 3GPP2 มีเทคโนโลยีหลักคือ cdma2000-3xRTT ที่มีศักยภาพเทียบเท่ากับมาตรฐาน W-CDMA ของค่ายยุโรป แต่ปัจจุบันยังไม่มีกำหนดความพร้อมสำหรับให้บริการเชิงพาณิชย์ที่ชัดเจน สำหรับในประเทศไทย บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด เปิดให้บริการเฉพาะเครือข่าย cdma20001xEV-DO ซึ่งยังมีขีดความสามารถเทียบเท่าเครือข่าย 2.75G เท่านั้น
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ W-CDMA ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้รองรับการสื่อสารแบบมัลติมีเดียสมบูรณ์แบบ โดยเปลี่ยนแปลงรูปแบบการสื่อสารชนิด TDMA ที่ปรากฏอยู่ในเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุค 2G/2.5G/2.75G ไปเป็นการสื่อสารแบบแพ็กเกตสวิทชิ่งเต็มรูปแบบ สามารถรองรับทั้งการสื่อสารทั้ง Voice และ Non-Voice โดยมีมาตรฐานการรองรับและควบคุมคุณภาพของข้อมูลที่สมบูรณ์แบบ อันเป็นผลต่อเนื่องมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการเข้ารหัสข้อมูล (Information Coding) จึงทำให้ผู้ให้บริการเครือข่าย 3G ก้าวพ้นจากข้อจำกัดในการบริหารจัดการข้อมูลประเภท Voice และ Non-Voice ดังที่ปรากฏอยู่ในมาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G ได้อย่างเด็ดขาด
อย่างไรก็ตามเพื่อให้เครือข่าย W-CDMA สามารถรองรับการสื่อสารข้อมูลได้อย่างเต็มรูปแบบ และให้เกิดความคล่องตัวในการจัดสรรทรัพยากรความถี่วิทยุ จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดย่านความถี่สำหรับใช้เปิดให้บริการ โดยเป็นไปตามแผนผังการจัดวางความถี่สากลทั่วโลกดังแสดงในรูปที่ 5 ด้วยเหตุดังกล่าวจึงทำให้ กิจการร่วมค้าไทย - โมบาย เป็นเพียงผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายเดียวในประเทศไทยที่สามารถเปิดให้บริการเครือข่าย 3G แบบ W-CDMA ได้ในทันที เนื่องจากมีสิทธิ์ใช้คลื่นความถี่วิทยุในย่าน 1965 – 1980 เมกะเฮิตรซ์ และ 2155 – 2170 เมกะเฮิตรซ์ ขณะที่ผู้ให้บริการเครือข่ายรายอื่น ๆ จำเป็นต้องยื่นคำร้องผ่านกระบวนการจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุโดยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) ซึ่งคาดว่าจะต้องใช้เวลาอีกหลายปีเพื่อได้สิทธิ์ในการเปิดให้บริการ W-CDMA เป็นรายต่อไป
จุดเด่นของมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA
นอกจากมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G จะมีการพัฒนาเทคโนโลยีสถานีฐาน (Base Station Subsystem) จากยุค 2G ซึ่งใช้เทคโนโลยี TDMA เป็นการรับส่งข้อมูลในรูปแบบแพ็กเกตเพื่อความคล่องตัวในการจัดสรรทรัพยากรความถี่สำหรับให้บริการทั้งแบบ Voice และ Non-Voice อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด อันจะช่วยสร้างความรู้สึกให้กับผู้ใช้บริการ (End User Perception) ถึงความรวดเร็วในการสื่อสารข้อมูล และยังคงรักษาคุณภาพของการสนทนาที่เหนือกว่ามาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G แล้ว มาตรฐาน W-CDMA ยังมีความคล่องตัวในการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายข้อมูลที่อยู่ในโลกอินเทอร์เน็ต เนื่องจากมาตรฐานการเชื่อมต่อต่าง ๆ สอดรับกับมาตรฐานของอุตสาหกรรมอินเทอร์เน็ตทุกประการ ก่อให้เกิดการเปิดกว้างในรูปแบบของความร่วมมือกับพันธมิตรจำนวนมาก มีความคล่องตัวในการบันทึก จัดเก็บ และบริหารจัดการข้อมูลประเภทสื่อข้อมูล (Content) ต่าง ๆ
เมื่อทำการเปรียบเทียบเฉพาะด้านของอัตราเร็วในการสื่อสารข้อมูลดังแสดงในรูปที่ 6 จะเห็นว่ามาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G นอกจากจะรองรับการสื่อสารข้อมูลที่รวดเร็วกว่ามาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G แล้ว ยังก่อให้เกิดการถือกำเนิดของบริการรูปแบบใหม่ ๆ ที่ไม่สามารถสร้างขึ้นบนเครือข่ายยุคในตระกูล 2G/2.5G/2.75G ได้ ที่เห็นได้ชัดเจนก็คือบริการ Video Telephony และ Video Conference ซึ่งเป็นการสื่อสารแบบเห็นหน้ากัน โดยเครือข่าย 3G จะทำการถ่ายทอดสดทั้งภาพและเสียงระหว่างคู่สนทนา โดยไม่เกิดความหน่วงหรือล่าช้าของข้อมูล บริการในลักษณะนี้จะกลายเป็น จุดขาย สำคัญประการหนึ่งของมาตรฐานการสื่อสารแบบ 3G ทั้งนี้เครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G ที่มีจำหน่ายในปัจจุบัน ล้วนรองรับบริการ Video Telephony แล้วทั้งสิ้น จึงสามารถเปิดให้บริการดังกล่าวได้ในทันที
ข้อมูลจาก UMTS Forum ในรูปที่ 7 แสดงให้เห็นถึงการเติบโตของจำนวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA เปรียบเทียบกับมาตรฐาน GSM โดยพิจารณาอัตราการเติบโตภายในช่วง 10 ไตรมาสแรก (2 ปีครึ่ง) หลังจากการเปิดให้บริการ GSM ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2535 เทียบกับ 10 ไตรมาสแรกหลังจากการเปิดให้บริการ W-CDMA ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 พบว่าเครือข่าย 3G แบบ W-CDMA มีอัตราการเติบโตที่สูงกว่ามาก มูลเหตุสำคัญมาจากแรงผลักดัน (Business Momentum) ที่ผู้ใช้บริการ 2.5G หรือ 2.75G รอคอยเครือข่ายสื่อสารไร้สายที่สามารถตอบสนองความต้องการในการสื่อสารข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงอย่างแท้จริง อีกทั้งผู้ให้บริการเครือข่ายยังมีความคล่องตัวในการจัดสรรเครือข่ายในด้านต่าง ๆ เพื่อสร้างบริการสื่อสารประเภท Non-Voice ที่ต้องพึ่งพาอัตราเร็วในการสื่อสารข้อมูลที่สูงขึ้น นอกเหนือจากบริการ Non-Voice พื้นฐานอย่าง SMS และ EMS
กล่าวโดยสรุป ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้มาตรฐานเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA มีแนวโน้มของการประสบความสำเร็จทางธุรกิจที่รวดเร็วกว่ามาตรฐาน 2G จนถึง 2.75G นั้น สืบเนื่องมาจากการปฏิวัติรูปแบบของเทคโนโลยีเครือข่าย เพื่อตอบสนองรูปแบบการสร้างความร่วมมือทางธุรกิจให้ผลักดันบริการ Non-Voice อย่างเต็มรูปแบบ ทั้งนี้ UMTS Forum ได้กล่าวถึงจุดเด่นของมาตรฐาน W-CDMA ซึ่งจะนำความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจให้กับผู้ประกอบการดังนี้ (เอกสาร Why the world has chosen W-CDMA : 24 September 2003)
1. เครือข่าย W-CDMA รับประกันคุณภาพในการรองรับข้อมูลแบบ Voice และ Non-Voice ในแง่ของผู้ใช้บริการจะรับรู้ได้ว่าคุณภาพเสียงจากการใช้งานเครือข่าย 3G ชัดเจนกว่าหรืออย่างน้อยเทียบเท่าการสนทนาผ่านเครือข่าย 2G ส่วนการรับส่งข้อมูลแบบ Non-Voice จะรับรู้ถึงอัตราเร็วในการสื่อสารที่สูงกว่าการใช้งานผ่านเครือข่าย 2.5G และ 2.75G มาก อันเป็นผลมาจากการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีเครือข่าย และใช้ย่านความถี่ที่สูงขึ้น
2. W-CDMA เป็นมาตรฐานเปิด (Open Standard) ซึ่งได้รับการพัฒนาโดยกลุ่ม 3GPP ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกับผู้พัฒนามาตรฐาน GSM ทำให้ผู้ให้บริการ 3G สามารถเชื่อมต่อเครือข่าย 3G เข้าหากันได้ถึงขั้นอนุญาตให้มีการใช้งานข้ามเครือข่าย (Roaming) เช่นเดียวกับที่เป็นอยู่ในเครือข่ายยุค 2G นอกจากนั้นยังสามารถเชื่อมต่อเพื่อการใช้งานข้ามเครือข่ายกับมาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G ได้ในทันที โดยผู้ใช้บริการเพียงมีอุปกรณ์สื่อสารแบบ Dual Mode เท่านั้น ทำให้เกิดลู่ทางในการสร้างเครือข่าย W-CDMA เพื่อเปิดให้ผู้ประกอบการเครือข่ายรายอื่นได้ร่วมเข้าใช้บริการ ในลักษณะของ Mobile Virtual Network Operator (MVNO) เป็นรายได้ที่สำคัญนอกเหนือจากการให้บริการ 3G กับผู้ใช้บริการที่จดทะเบียนภายในเครือข่าย
3. มาตรฐาน W-CDMA เป็นมาตรฐานโลก ที่จะเข้ามาแทนที่เครือข่ายในตระกูล GSM เช่นเดียวกับเหตุการณ์ที่เครือข่าย GSM เข้ามาแทนที่เครือข่าย 1G เมื่อกว่า 10 ปีที่แล้ว จึงเป็นการรับประกันถึงพัฒนาการที่มีอย่างต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ การเร่งเปิดให้บริการ 3G จึงเปรียบได้กับการเร่งเข้าสู่ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ของผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยักษ์ใหญ่ในปัจจุบันที่เกิดขึ้นในอดีต
4. พิจารณาเฉพาะการให้บริการแบบ Voice จะเห็นว่าการลงทุนสร้างเครือข่าย W-CDMA มีต้นทุนที่ต่ำกว่าการสร้างเครือข่าย GSM ถึงกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากมาตรฐาน W-CDMA มีความยืดหยุ่นและคล่องตัวให้ผู้ประกอบสามารถปรับเปลี่ยนทรัพยากรความถี่เพื่อรองรับ Voice และ Non-Voice ได้อย่างผสมผสาน ต่างจากการกำหนดทรัพยากรตายตัวในกรณีของเทคโนโลยี GSM
5. W-CDMA เป็นมาตรฐานสื่อสารไร้สายชนิดเดียวที่มีรูปแบบการทำงานแบบแถบความถี่กว้าง (Wideband) อันนำมาซึ่งประสิทธิภาพในการสร้างพื้นที่ให้บริการที่กว้างใหญ่ ไปพร้อม ๆ กับความสะดวกในการเพิ่มขยายขีดความสามารถในการรองรับข้อมูลข่าวสาร ต่างจากเครือข่าย 2G โดยทั่วไปที่ปัจจุบันเริ่มประสบกับปัญหาการจัดสรรความถี่ที่ไม่เพียงพอต่อการขยายเครือข่าย เนื่องจากเป็นระบบแบบแถบความถี่แคบ (Narrow Band)
6. กลไกการทำงานภายในเครือข่าย W-CDMA เป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะมาตรฐาน IETF (Internet Engineering Task Force) ทำให้ผู้ประกอบการสามารถเปิดโอกาสให้พันธมิตรทางธุรกิจซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาโปรแกรมหรือบริการพิเศษต่าง ๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้ทำการพัฒนาสร้างบริการผ่านอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย โดยใช้ทักษะความสามารถและความชำนาญที่มีอยู่ เป็นการกระตุ้นให้เกิดบริการประเภท Non-Voice ได้สารพัดรูปแบบ
7. มีแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถในรองรับการสื่อสารข้อมูลที่มีอัตราเร็วสูงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาสู่มาตรฐาน HSDPA ที่รองรับการสื่อสารข้อมูลด้วยอัตราเร็วที่สูงมากถึง 14 เมกะบิตต่อวินาที ในขณะที่มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ไม่สามารถพัฒนาให้รองรับการสื่อสารข้อมูลได้มากกว่าเทคโนโลยี EDGE ในปัจจุบัน ซึ่งรองรับข้อมูลได้ด้วยอัตราเร็ว 384 กิโลบิตต่อวินาที และในความเป็นจริงก็ไม่สามารถเปิดให้บริการด้วยอัตราเร็วถึงระดับดังกล่าวได้ เนื่องจากจะทำให้สถานีไม่สามารถรองรับบริการ Voice ได้อีกต่อไป
8. ในอนาคตมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G มีทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจนในการรวมตัวกับมาตรฐานสื่อสารไร้สายชนิดอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐาน Wireless LAN (IEEE802.11b/g) หรือ WiMAX (IEEE802.16d/e/e+) ทำให้ผู้ใช้บริการเครือข่ายไร้สายสามารถเคลื่อนย้ายไปใช้งานในเครือข่ายใด ๆ ก็ได้ตามความเหมาะสมทางภูมิประเทศ โดยยังคงได้รับการดูแลโดยผู้ให้บริการเครือข่าย 3G
ความสำคัญต่าง ๆ เหล่านี้เองที่เป็นแรงผลักดันให้ผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM จำนวนมากทั่วโลก รวมนักลงทุนหน้าใหม่ ให้ความสำคัญสำหรับการแสวงหาสิทธิ์ในการเปิดให้บริการเครือข่าย 3G และมีแผนกำหนดเปิดให้บริการเทคโนโลยี W-CDMA ดังมีข้อมูลแสดงในรูปที่ 8 โดยเฉพาะยักษ์ใหญ่ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่อันดับต้น ๆ ของโลก 8 รายได้ตัดสินใจเลือกมาตรฐาน W-CDMA เป็นเทคโนโลยี 3G ดังแสดงในรูปที่ 9
ในท้ายที่สุด ความสมบูรณ์แบบในการรองรับธุรกิจ Non-Voice ของมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA จะช่วยผลักดันให้เกิดห่วงโซ่ธุรกิจที่สมบูรณ์แบบ ดังแสดงในรูปที่ 10 แม้จะมีความพยายามในกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจโทรคมนาคมภายในประเทศที่จะผลักดันให้เกิดการประสานผลประโยชน์อย่างลงตัวระหว่างผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G/2.5G/2.75G กับผู้ประกอบการสื่อข้อมูลต่าง ๆ มาก่อนหน้านี้ แต่เนื่องจากข้อจำกัดของเครือข่ายในตระกูล GSM และ CDMA เองที่ไม่มีความยืดหยุ่นเพียงพอที่จะสร้างความประทับใจต่อผู้ใช้บริการ จึงทำให้เกิดการขาดช่วงของความสมดุลในการผสานผลประโยชน์ เมื่อพิจารณาจากความสำเร็จของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ FOMA ของบริษัท NTT DoCoMo ซึ่งเป็นผู้ให้บริการรายแรกที่เปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA และประสบความสำเร็จในการดึงศักยภาพของเครือข่าย W-CDMA ให้เกื้อหนุนต่อความลงตัวสำหรับการร่วมมือในธุรกิจ Non-Voice ในประเทศญี่ปุ่นอย่างงดงาม ต่อเนื่องด้วยความคืบหน้าในการสานต่อโครงสร้างธุรกิจ Non-Voice ในประเทศจีนและอีกหลาย ๆ ประเทศ จึงสรุปได้ว่ามาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA จะเป็นการเปิดประตูสู่ธุรกิจ Non-Voice ในประเทศไทยในอนาคตอันใกล้
อ้างอิง http://th.wikipedia.org/wiki
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 3 จี
มาตรฐานโทรศัพท์มือถือยุคที่ 3
มาตรฐานโทรศัพท์มือถือยุคที่ 3 หรือรู้จักในชื่อ 3G (สามจี หรือ ธรีจี) เป็นมาตรฐานโทรศัพท์มือถือในยุคที่ 3 ถูกพัฒนาและกำลังมาแทนที่ ระบบโทรศัพท์ 2G ซึ่ง 3G นั้นพัฒนาบนพื้นฐานของมาตรฐาน International Mobile Telecommunications 2000, IMT-2000 ภายใต้กลุ่มของ International Telecommunication Union (ITU)
3G นั้น ได้พัฒนามาจาก GPRS และ EDGE ตอนนี้ได้มีในเมืองไทยแล้ว แต่ในของระบบ AIS นั้นจะทำ HSDPA หรือ 3.5G (ระบบ 3G มีใช้เฉพาะที่จังหวัด เชียงใหม่ และ กทม.) โดยขณะนี้ มีแค่ AIS ดีแทค และ ทรูมูฟ เท่านั้นที่ให้บริการ (ดีแทคยังไม่เปิดโดยทั่วไป)
มาตรฐานโทรศัพท์มือถือยุคที่ 3 หรือที่เรียกว่า ระบบ UMTS หรือ WCDMA ในระบบ GSM 850 , 900 , 1800 , 1900 และ 2100 (ที่เป็นสากลที่โทรศัพท์ระบบ 3G ต้องมี)
3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจตรงกันว่า
“ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ อาทิ กิจการประจำที่ (Fixed Service) กิจการเคลื่อนที่ (Mobile Service) บริการสื่อสารเสียง ข้อมูล อินเทอร์เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน” คือ สามารถถ่ายเท ส่งต่อข้อมูล ดิจิตอล ไปยังอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้
“ความสามารถในการใช้โครงข่ายทั่วโลก (Global Roaming) ” คือ ผู้บริโภคสามารถ ถืออุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้ได้ทั่วโลก โดยไม่ต้องเปลี่ยนเครื่อง
“บริการที่ไม่ขาดตอน (Seamless Delivery Service) ” คือ การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยน เซลล์ไซต์ (Cell Site) เขาใช้คำว่า Seam less นั้นแปลว่า ไร้รอยตะเข็บนะครับ
อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล (Transmission Rate) ในมาตรฐาน IMT-2000 นั้นกำหนดไว้ว่าต้องมีอัตราความเร็วดังนี้ [1]
ในสภาวะอยู่กับที่หรือขณะเดิน มีความเร็วอย่างน้อยที่สุด 2 เมกะบิต/วินาที
ในสภาวะเคลื่อนที่โดยยานพาหนะ มีความเร็วอย่างน้อยที่สุด 384 กิโลบิต/วินาที
ทุกสภาวะ มีความเร็วอย่างมากที่สุด 14.4 เมกะบิต/วินาที
จุดเริ่มต้นของเทคโนโลยี 3G
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 (Third Generation Mobile Network หรือ 3G) เป็นเทคโนโลยียุคถัดมาจากการเปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 2 หรือ 2G ซึ่งประสบความสำเร็จในการสร้างมูลค่าทางธุรกิจสื่อสารไร้สายอย่างมหาศาลนับตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เป็นต้นมา ในยุคของโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G มีมาตรฐานที่สำคัญที่มีการนิยมใช้งานทั่วโลกอยู่ 2 มาตรฐาน กล่าวคือมาตรฐาน GSM (Global System for Mobile Communication) อันเป็นมาตรฐานของกลุ่มสหภาพยุโรป ปัจจุบันมีส่วนแบ่งทางการตลาดทั่วโลกสูงที่สุด และมาตรฐาน CDMA (Code Division Multiple Access) อันเป็นมาตรฐานจากสหรัฐอเมริกา มีส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับที่สอง
จุดมุ่งหมายของการพัฒนามาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ขึ้น ก็เพื่อตอบสนองความต้องการใช้งานระบบสื่อสารไร้สายส่วนบุคคล (Personal Communication) ในลักษณะไร้พรมแดน (Global Communication) โดยเปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถนำเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้งานในที่ใด ๆ ก็ได้ทั่วโลกที่มีการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ดังกล่าว และยังเป็นยุคของการนำมาตรฐานสื่อสารแบบดิจิตอลสมบูรณ์แบบมาใช้รักษาความปลอดภัย และเสริมประสิทธิภาพในการสื่อสารหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นบริการส่งข้อความแบบสั้น (Short Message Service หรือ SMS) และการเริ่มต้นของยุคสื่อสารข้อมูลผ่านเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นครั้งแรก โดยมาตรฐาน GSM และ CDMA ตอบสนองความต้องการสื่อสารข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงสุด 9,600 บิตต่อวินาที ซึ่งถือว่าเพียงพอเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราเร็วของการสื่อสารผ่านโมเด็มในเครือข่ายโทรศัพท์พื้นฐานเมื่อกว่าสิบปีก่อน
การตอบรับของกลุ่มผู้บริโภคบริการสื่อสารไร้สายทั่วโลก ทำให้มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G สร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการณ์ทั่วโลกอย่างมหาศาล ก่อให้เกิดการเปิดสัมปทานและนำมาซึ่งการแข่งขันอย่างรุนแรงในแทบทุกประเทศ ซึ่งปัจจัยดังกล่าวนอกจากจะมีผลทำให้เกิดการเพิ่มจำนวนของผู้ใช้บริการอย่างก้าวกระโดดแล้ว ในขณะเดียวกันยังสร้างผลกระทบต่อรายได้โดยเฉลี่ยต่อเลขหมาย (Average Revenue per User หรือ ARPU) ของผู้ให้บริการเครือข่าย อันเนื่องมาจากการกลยุทธ์การแข่งขันด้านราคา ยิ่งเมื่อมีการเปิดตัวบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบพร้อมใช้ (Prepaid Subscriber) ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ก็ทำให้เกิดการลดถอยของ ARPU ลงอย่างต่อเนื่อง พร้อม กับปัญหาผู้ใช้บริการย้ายค่าย (Brand Switching) ที่รุนแรงขึ้น
เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อมั่นในตราสินค้าและยังเป็นการสร้างรายได้เพิ่มเพื่อชดเชย ARPU ที่ลดต่ำลง เนื่องจากปรากฏการณ์อิ่มตัวของบริการสื่อสารด้วยเสียง (Voice Service) ผู้ประกอบการในธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลกจึงมีความเห็นตรงกันที่จะสร้างบริการสื่อสารไร้สายรูปแบบใหม่ ๆ ขึ้น โดยพัฒนาเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ที่เปิดใช้งานอยู่ ให้มีศักยภาพเพิ่มเติมเพื่อรองรับบริการสื่อสารข้อมูลแบบที่มิใช่เสียง (Non-Voice Communication) พร้อมกับการวางแผนธุรกิจ แผนปฏิบัติการทางวิศวกรรม การตลาด และแผนการลงทุน เพื่อสร้างกระแสความต้องการ (Demand Aggregation) ให้กับฐานลูกค้าผู้ใช้บริการที่มีอยู่เดิม เพื่อเพิ่ม ARPU ให้สูงขึ้น พร้อม ๆ กับผลักดันให้เกิดบริการรูปแบบใหม่ ๆ ไม่ว่าจะเป็นการรับส่งข้อมูลแบบ EMS (Enhanced Messaging Service) หรือ MMS (Multimedia Messaging Service) รวมถึงบริการท่องโลกอินเทอร์เน็ตไร้สายผ่านอุปกรณ์สื่อสารรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งมีทั้งที่เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่ว ๆ ไป อุปกรณ์ไร้สายประเภท PDA (Personal Digital Assistant) และโทรศัพท์เคลื่อนที่อัจฉริยะ (Smart Phone)
เพื่อเป็นการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ที่ได้มีการลงทุนไว้แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด มาตรฐานเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลในรูปแบบใหม่ ๆ จึงถูกกำหนดขึ้น ภายใต้แนวคิดในการพัฒนาเครือข่ายเดิม ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยี HSCSD (High Speed Circuit Switching Data), GPRS (General Packet Radio Service) หรือ EDGE (Enhanced Data Rate for GPRS Evolution) ของค่าย GSM และเทคโนโลยี cdma20001xEV-DV หรือ cdma20001xEV-DO ของค่าย CDMA ดังแสดงพัฒนาการในรูปที่ 1 เรียกมาตรฐานต่อยอดดังกล่าวโดยรวมว่า เทคโนโลยียุค 2.5G/2.75G ซึ่งในช่วงเวลานี้เองที่ปรากฏมีมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ PDC (Packet Digital Cellular) เปิดให้บริการสื่อสารข้อมูลในลักษณะของเทคโนโลยี 2.5G ภายใต้ชื่อเครื่องหมายการค้า i-mode ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างมากในการเปิดศักราชของการให้บริการสื่อสารข้อมูลแบบมัลติมีเดียไร้สายในประเทศญี่ปุ่น และได้กลายเป็นต้นแบบของการจัดทำธุรกิจ Non-Voice ให้กับผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลกในเวลาต่อมา
การเติบโตของธุรกิจ Non-Voice
ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 เป็นต้นมาอันเป็นยุคเริ่มต้นของเทคโนโลยี 2.5G ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลกรวมทั้งในประเทศไทย มีการผลักดันบริการสื่อสารข้อมูลรูปแบบใหม่ ๆ ในรูปแบบ Non-Voice เพื่อสร้างกระแสนิยมในกลุ่มผู้บริโภคมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้ประโยชน์จากเครือข่าย 2.5G อย่างเต็มรูปแบบ หรือเป็นการผลักดันให้เกิดการยอมรับในบริการที่มีอยู่แล้ว อันได้แก่บริการ SMS ซึ่งในปัจจุบันจะเห็นว่าบริการเหล่านี้ได้กลายเป็นช่องทางสำคัญที่เพิ่มมูลค่าให้บริการ ARPU ของบรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ รูปที่ 2 แสดงให้เห็นถึงการเติบโตของบริการประเภทต่าง ๆ บนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในภาพรวมของทั้งทวีปเอเชียตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2544 จนถึง พ.ศ. 2553 ซึ่งในท้ายที่สุดบริการแบบ Non-Voice จะมีสัดส่วนที่เป็นนัยสำคัญต่อรายได้รวมทั้งหมด
สำหรับธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยเอง นับตั้งแต่การเปิดให้บริการประเภท Non-Voice อย่างจริงจังเมื่อต้นปี พ.ศ. 2545 เป็นต้นมา บรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ก็สามารถสร้างรายได้เพื่อเสริมทดแทนการลดทอนของค่า ARPU ภายในเครือข่ายของตน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการเปิดตัวบริการสื่อสารไร้สายมัลติมีเดียของบริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด (HUTCH) เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2546 เป็นต้นมา สภาพการแข่งขันในธุรกิจสื่อสารไร้สายในประเทศไทยก็เริ่มมุ่งความสำคัญในการสร้างบริการ Non-Voice ใหม่ ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเปิดให้บริการ MMS อย่างเป็นทางการ การคิดโปรโมชั่นกระตุ้นการท่องอินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือแม้กระทั่งการทดลองเปิดให้บริการชมภาพยนตร์ผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ (TV on Mobile) ซึ่งความพยายามของผู้ให้บริการเครือข่ายแต่ละราย ทำให้เกิดกระแสความสนใจใช้บริการ Non-Voice เพิ่มมากขึ้น
รูปที่ 3 และ 4 แสดงถึงความสำคัญของรายได้ที่เกิดขึ้นจากบริการ Non-Voice นับตั้งแต่ช่วงต้นปี พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา อันมีผลทำให้บรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถเพิ่มค่า ARPU ของตนให้มีแนวโน้มสูงขึ้น พร้อม ๆ กับการเพิ่มจำนวนผู้ใช้บริการภายในเครือข่ายของตน ซึ่งแตกต่างจากสภาพการณ์ในช่วงก่อนหน้านี้ที่รายได้เฉลี่ยของตนตกลงเรื่อย ๆ สวนทางกับการเพิ่มจำนวนของกลุ่มผู้ใช้บริการ โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาถึงกลุ่มผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่พร้อมใช้ ซึ่งถือเป็นกลุ่มผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ของประเทศ มีการเพิ่มค่า ARPU ขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้ส่วนหนึ่งจะมาจากนโยบายการตลาดของผู้ให้บริการที่มีการจำกัดเวลาในการโทรให้สัมพันธ์กับวงเงินก็ตาม แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้เช่นกันว่า ความนิยมในบริการ Non-Voice ประเภท SMS และ EMS โดยเฉพาะที่อยู่ในรูปแบบของบริการดาวน์โหลดรูปภาพ (Logo/Animation) และเสียงเรียกเข้า (Ringtone) ในกลุ่มวัยรุ่นและนักศึกษามีผลอย่างเป็นนัยสำคัญต่อการเพิ่มค่า ARPU ดังกล่าว
ข้อจำกัดของเครือข่าย 2.5G และ 2.75G
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.5G หรือ 2.75G แม้จะสามารถรองรับการสื่อสารประเภท Non-Voice ได้ แต่ก็ไม่อาจสร้างบริการประเภท Killer Application ที่ผลิกผันรูปแบบการให้บริการได้อย่างชัดเจน ดังจะเห็นได้จากสถาการณ์การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย ที่แม้จะมีการเติบโตอย่างชัดเจนในตลาดประเภท Non-Voice แต่เมื่อศึกษาอย่างละเอียดก็จะพบว่าบริการที่ประสบความสำเร็จเกือบทั้งหมด ล้วนเป็นบริการประเภท SMS และ EMS ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นการดาวน์โหลดรูปภาพหรือเสียงเรียกเข้า รวมถึงการเล่นเกมส์ตอบปัญหาหรือส่งผลโหวตที่ปรากฏอยู่ตามสื่อชนิดต่าง ๆ ซึ่งบริการเหล่านี้ล้วนเป็นบริการพื้นฐานในเครือข่าย 2G
ข้อจำกัดของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อน 2.5G และ 2.75G เกิดขึ้นมาจากความพยายามพัฒนาเครือข่าย 2G เดิม ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐาน GSM หรือ CDMA ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าการลงทุน ทำให้ผู้ให้บริการเครือข่ายไม่อาจบริหารจัดการทรัพยากรเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้อย่างคล่องตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ไม่ว่าจะเป็นย่านความถี่ 900 เมกะเฮิตรซ์ , 1800 เมกะเฮิตรซ์ หรือ 1900 เมกะเฮิตรซ์ เนื่องจากอุปกรณ์ที่มีการติดตั้งใช้งานมาตั้งแต่การเปิดให้บริการในยุค 2G ล้วนเป็นเทคโนโลยีเก่า มีการทำงานแบบ Time Division Multiple Access (TDMA) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีเก่า ต้องจัดสรรวงจรให้กับผู้ใช้งานตายตัว ไม่สามารถนำทรัพยากรเครือข่ายมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีดังกล่าวเหมาะสำหรับการสื่อสารข้อมูลแบบ Voice ซึ่งต้องการคุณภาพและความคมชัดในการสนทนา
แม้เมื่อมีการพัฒนาเทคโนโลยี GPRS และ EDGE ซึ่งถือเป็นการเสริมเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูลแบบแพ็กเกตสวิตชิ่ง (Packet Switching) ที่มีความยืดหยุ่นในการสื่อสารข้อมูลแบบ Non-Voice ในลักษณะเดียวกับที่พบในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็ตาม แต่เทคโนโลยีทั้ง 2 ประเภทนี้ก็ถือว่าเป็นการ ต่อยอด บนเครือข่ายแบบเดิมที่มีการทำงานแบบ TDMA ทำให้ผู้ให้บริการเครือข่ายต้องพะวงกับการจัดสรรทรัพยากรช่องสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการจัดสรรวงจรสื่อสารผ่านคลื่นความถี่วิทยุจากสถานีฐานไปยังเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทำให้ไม่สามารถเปิดให้บริการแบบ Non-Voice ได้อย่างเต็มรูปแบบ เนื่องจากจะทำให้เกิดผลรบกวนต่อจำนวนวงจรสื่อสารแบบ Voice มากจนเกินไป
ด้วยเหตุดังกล่าว จึงพบว่าไม่มีผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.5G หรือ 2.75G รายใดในโลก สามารถเปิดให้บริการเทคโนโลยี GPRS ด้วยอัตราเร็วสูงสุด 171 กิโลบิตต่อวินาที หรือ EDGE ด้วยอัตราเร็ว 384 กิโลบิตต่อวินาทีได้ เนื่องจากการทำเช่นนั้นจะทำให้สถานีฐาน (Base Station) ที่ทำหน้าที่รับส่งสัญญาณกับเครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ไม่มีวงจรสื่อสารเหลือสำหรับให้บริการแบบ Voice อีกต่อไป ผลที่เกิดขึ้นในมุมมองของผู้ใช้บริการก็คือความเชื่องช้าในการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่าย 2.5G และ 2.75G ทำให้หมดความสนใจที่จะใช้บริการต่อไป โดยในขณะเดียวกันก็มีบริการสื่อสารอัตราเร็วสูงแบบบรอดแบนด์ผ่านคู่สาย เช่น DSL (Digital Subscriber Line) เป็นทางเลือกสำหรับใช้บริการ ความสนใจที่จะใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อรับส่งข้อมูลจึงมีอยู่เฉพาะการเล่นเกมส์และส่ง SMS, MMS ซึ่งทำได้ง่าย และมีการประชาสัมพันธ์ดึงดูดใจมากมาย
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G
เพื่อเป็นการเพิ่มความคล่องตัวในการเปิดให้บริการ Non-Voice อย่างเต็มรูปแบบ พร้อมทั้งยังคงรักษาคุณภาพในการให้บริการ Voice ด้วยระดับคุณภาพที่ทัดเทียมหรือดีกว่าในยุค 2G องค์กรสากล 3GPP (Third Generation Program Partnership) และ 3GPP2 จึงได้กำหนดมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G ขึ้น โดยมีมาตรฐานสำคัญอยู่ 2 ประเภท คือ
มาตรฐาน UMTS (Universal Mobile Telecommunications Services) เป็นมาตรฐานที่ออกแบบมาสำหรับผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้นำไปพัฒนาจากยุค 2G/2.5G/2.75G ไปสู่มาตรฐานยุค 3G อย่างเต็มตัว รับผิดชอบการพัฒนามาตรฐานโดยองค์กร 3GPP มีเทคโนโลยีหลักที่ปัจจุบันมีการยอมรับใช้งานทั่วโลกคือมาตรฐาน Wideband Code Division Multiple Access (W-CDMA) โดยในอนาคตจะมีการพัฒนาต่อเนื่องไปสู่มาตรฐาน HSDPA (High Speed Downlink Packet Access) ซึ่งรองรับการสื่อสารด้วยอัตราเร็วสูงถึง 14 เมกะบิตต่อวินาที หรือเร็วกว่าการสื่อสารแบบ 2.75G ถึง 36 เท่า มาตรฐาน W-CDMA นี้เองที่กิจการร่วมค้า ไทย - โมบาย กำลังจะดำเนินการพัฒนาเพื่อเปิดให้บริการภายในต้นปี พ.ศ. 2548 นอกจากจะเป็นเส้นทางในการพัฒนาสู่มาตรฐาน 3G ของบรรดาผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM แล้ว มาตรฐาน W-CDMA ยังได้รับการยอมรับจากผู้ให้บริการรายใหญ่อย่างบริษัท NTT DoCoMo ผู้เปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ I-mode ซึ่งใช้เทคโนโลยี PDC ให้เป็นมาตรฐาน 3G สำหรับใช้งานภายใต้เครื่องหมายการค่า “FOMA” โดยได้เปิดให้บริการในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา และปัจจุบัน W-CDMA ได้กลายเป็นเครือข่าย 3G ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มาตรฐาน cdma2000 เป็นการพัฒนาเครือข่าย CDMA ให้รองรับการสื่อสารในยุค 3G รับผิดชอบการพัฒนามาตรฐานโดยองค์กร 3GPP2 มีเทคโนโลยีหลักคือ cdma2000-3xRTT ที่มีศักยภาพเทียบเท่ากับมาตรฐาน W-CDMA ของค่ายยุโรป แต่ปัจจุบันยังไม่มีกำหนดความพร้อมสำหรับให้บริการเชิงพาณิชย์ที่ชัดเจน สำหรับในประเทศไทย บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด เปิดให้บริการเฉพาะเครือข่าย cdma20001xEV-DO ซึ่งยังมีขีดความสามารถเทียบเท่าเครือข่าย 2.75G เท่านั้น
มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ W-CDMA ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้รองรับการสื่อสารแบบมัลติมีเดียสมบูรณ์แบบ โดยเปลี่ยนแปลงรูปแบบการสื่อสารชนิด TDMA ที่ปรากฏอยู่ในเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุค 2G/2.5G/2.75G ไปเป็นการสื่อสารแบบแพ็กเกตสวิทชิ่งเต็มรูปแบบ สามารถรองรับทั้งการสื่อสารทั้ง Voice และ Non-Voice โดยมีมาตรฐานการรองรับและควบคุมคุณภาพของข้อมูลที่สมบูรณ์แบบ อันเป็นผลต่อเนื่องมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการเข้ารหัสข้อมูล (Information Coding) จึงทำให้ผู้ให้บริการเครือข่าย 3G ก้าวพ้นจากข้อจำกัดในการบริหารจัดการข้อมูลประเภท Voice และ Non-Voice ดังที่ปรากฏอยู่ในมาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G ได้อย่างเด็ดขาด
อย่างไรก็ตามเพื่อให้เครือข่าย W-CDMA สามารถรองรับการสื่อสารข้อมูลได้อย่างเต็มรูปแบบ และให้เกิดความคล่องตัวในการจัดสรรทรัพยากรความถี่วิทยุ จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดย่านความถี่สำหรับใช้เปิดให้บริการ โดยเป็นไปตามแผนผังการจัดวางความถี่สากลทั่วโลกดังแสดงในรูปที่ 5 ด้วยเหตุดังกล่าวจึงทำให้ กิจการร่วมค้าไทย - โมบาย เป็นเพียงผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายเดียวในประเทศไทยที่สามารถเปิดให้บริการเครือข่าย 3G แบบ W-CDMA ได้ในทันที เนื่องจากมีสิทธิ์ใช้คลื่นความถี่วิทยุในย่าน 1965 – 1980 เมกะเฮิตรซ์ และ 2155 – 2170 เมกะเฮิตรซ์ ขณะที่ผู้ให้บริการเครือข่ายรายอื่น ๆ จำเป็นต้องยื่นคำร้องผ่านกระบวนการจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุโดยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) ซึ่งคาดว่าจะต้องใช้เวลาอีกหลายปีเพื่อได้สิทธิ์ในการเปิดให้บริการ W-CDMA เป็นรายต่อไป
จุดเด่นของมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA
นอกจากมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G จะมีการพัฒนาเทคโนโลยีสถานีฐาน (Base Station Subsystem) จากยุค 2G ซึ่งใช้เทคโนโลยี TDMA เป็นการรับส่งข้อมูลในรูปแบบแพ็กเกตเพื่อความคล่องตัวในการจัดสรรทรัพยากรความถี่สำหรับให้บริการทั้งแบบ Voice และ Non-Voice อย่างเกิดประโยชน์สูงสุด อันจะช่วยสร้างความรู้สึกให้กับผู้ใช้บริการ (End User Perception) ถึงความรวดเร็วในการสื่อสารข้อมูล และยังคงรักษาคุณภาพของการสนทนาที่เหนือกว่ามาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G แล้ว มาตรฐาน W-CDMA ยังมีความคล่องตัวในการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายข้อมูลที่อยู่ในโลกอินเทอร์เน็ต เนื่องจากมาตรฐานการเชื่อมต่อต่าง ๆ สอดรับกับมาตรฐานของอุตสาหกรรมอินเทอร์เน็ตทุกประการ ก่อให้เกิดการเปิดกว้างในรูปแบบของความร่วมมือกับพันธมิตรจำนวนมาก มีความคล่องตัวในการบันทึก จัดเก็บ และบริหารจัดการข้อมูลประเภทสื่อข้อมูล (Content) ต่าง ๆ
เมื่อทำการเปรียบเทียบเฉพาะด้านของอัตราเร็วในการสื่อสารข้อมูลดังแสดงในรูปที่ 6 จะเห็นว่ามาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G นอกจากจะรองรับการสื่อสารข้อมูลที่รวดเร็วกว่ามาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G แล้ว ยังก่อให้เกิดการถือกำเนิดของบริการรูปแบบใหม่ ๆ ที่ไม่สามารถสร้างขึ้นบนเครือข่ายยุคในตระกูล 2G/2.5G/2.75G ได้ ที่เห็นได้ชัดเจนก็คือบริการ Video Telephony และ Video Conference ซึ่งเป็นการสื่อสารแบบเห็นหน้ากัน โดยเครือข่าย 3G จะทำการถ่ายทอดสดทั้งภาพและเสียงระหว่างคู่สนทนา โดยไม่เกิดความหน่วงหรือล่าช้าของข้อมูล บริการในลักษณะนี้จะกลายเป็น จุดขาย สำคัญประการหนึ่งของมาตรฐานการสื่อสารแบบ 3G ทั้งนี้เครื่องลูกข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G ที่มีจำหน่ายในปัจจุบัน ล้วนรองรับบริการ Video Telephony แล้วทั้งสิ้น จึงสามารถเปิดให้บริการดังกล่าวได้ในทันที
ข้อมูลจาก UMTS Forum ในรูปที่ 7 แสดงให้เห็นถึงการเติบโตของจำนวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA เปรียบเทียบกับมาตรฐาน GSM โดยพิจารณาอัตราการเติบโตภายในช่วง 10 ไตรมาสแรก (2 ปีครึ่ง) หลังจากการเปิดให้บริการ GSM ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2535 เทียบกับ 10 ไตรมาสแรกหลังจากการเปิดให้บริการ W-CDMA ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 พบว่าเครือข่าย 3G แบบ W-CDMA มีอัตราการเติบโตที่สูงกว่ามาก มูลเหตุสำคัญมาจากแรงผลักดัน (Business Momentum) ที่ผู้ใช้บริการ 2.5G หรือ 2.75G รอคอยเครือข่ายสื่อสารไร้สายที่สามารถตอบสนองความต้องการในการสื่อสารข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงอย่างแท้จริง อีกทั้งผู้ให้บริการเครือข่ายยังมีความคล่องตัวในการจัดสรรเครือข่ายในด้านต่าง ๆ เพื่อสร้างบริการสื่อสารประเภท Non-Voice ที่ต้องพึ่งพาอัตราเร็วในการสื่อสารข้อมูลที่สูงขึ้น นอกเหนือจากบริการ Non-Voice พื้นฐานอย่าง SMS และ EMS
กล่าวโดยสรุป ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้มาตรฐานเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA มีแนวโน้มของการประสบความสำเร็จทางธุรกิจที่รวดเร็วกว่ามาตรฐาน 2G จนถึง 2.75G นั้น สืบเนื่องมาจากการปฏิวัติรูปแบบของเทคโนโลยีเครือข่าย เพื่อตอบสนองรูปแบบการสร้างความร่วมมือทางธุรกิจให้ผลักดันบริการ Non-Voice อย่างเต็มรูปแบบ ทั้งนี้ UMTS Forum ได้กล่าวถึงจุดเด่นของมาตรฐาน W-CDMA ซึ่งจะนำความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจให้กับผู้ประกอบการดังนี้ (เอกสาร Why the world has chosen W-CDMA : 24 September 2003)
1. เครือข่าย W-CDMA รับประกันคุณภาพในการรองรับข้อมูลแบบ Voice และ Non-Voice ในแง่ของผู้ใช้บริการจะรับรู้ได้ว่าคุณภาพเสียงจากการใช้งานเครือข่าย 3G ชัดเจนกว่าหรืออย่างน้อยเทียบเท่าการสนทนาผ่านเครือข่าย 2G ส่วนการรับส่งข้อมูลแบบ Non-Voice จะรับรู้ถึงอัตราเร็วในการสื่อสารที่สูงกว่าการใช้งานผ่านเครือข่าย 2.5G และ 2.75G มาก อันเป็นผลมาจากการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีเครือข่าย และใช้ย่านความถี่ที่สูงขึ้น
2. W-CDMA เป็นมาตรฐานเปิด (Open Standard) ซึ่งได้รับการพัฒนาโดยกลุ่ม 3GPP ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกับผู้พัฒนามาตรฐาน GSM ทำให้ผู้ให้บริการ 3G สามารถเชื่อมต่อเครือข่าย 3G เข้าหากันได้ถึงขั้นอนุญาตให้มีการใช้งานข้ามเครือข่าย (Roaming) เช่นเดียวกับที่เป็นอยู่ในเครือข่ายยุค 2G นอกจากนั้นยังสามารถเชื่อมต่อเพื่อการใช้งานข้ามเครือข่ายกับมาตรฐาน 2G/2.5G/2.75G ได้ในทันที โดยผู้ใช้บริการเพียงมีอุปกรณ์สื่อสารแบบ Dual Mode เท่านั้น ทำให้เกิดลู่ทางในการสร้างเครือข่าย W-CDMA เพื่อเปิดให้ผู้ประกอบการเครือข่ายรายอื่นได้ร่วมเข้าใช้บริการ ในลักษณะของ Mobile Virtual Network Operator (MVNO) เป็นรายได้ที่สำคัญนอกเหนือจากการให้บริการ 3G กับผู้ใช้บริการที่จดทะเบียนภายในเครือข่าย
3. มาตรฐาน W-CDMA เป็นมาตรฐานโลก ที่จะเข้ามาแทนที่เครือข่ายในตระกูล GSM เช่นเดียวกับเหตุการณ์ที่เครือข่าย GSM เข้ามาแทนที่เครือข่าย 1G เมื่อกว่า 10 ปีที่แล้ว จึงเป็นการรับประกันถึงพัฒนาการที่มีอย่างต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ การเร่งเปิดให้บริการ 3G จึงเปรียบได้กับการเร่งเข้าสู่ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G ของผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยักษ์ใหญ่ในปัจจุบันที่เกิดขึ้นในอดีต
4. พิจารณาเฉพาะการให้บริการแบบ Voice จะเห็นว่าการลงทุนสร้างเครือข่าย W-CDMA มีต้นทุนที่ต่ำกว่าการสร้างเครือข่าย GSM ถึงกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากมาตรฐาน W-CDMA มีความยืดหยุ่นและคล่องตัวให้ผู้ประกอบสามารถปรับเปลี่ยนทรัพยากรความถี่เพื่อรองรับ Voice และ Non-Voice ได้อย่างผสมผสาน ต่างจากการกำหนดทรัพยากรตายตัวในกรณีของเทคโนโลยี GSM
5. W-CDMA เป็นมาตรฐานสื่อสารไร้สายชนิดเดียวที่มีรูปแบบการทำงานแบบแถบความถี่กว้าง (Wideband) อันนำมาซึ่งประสิทธิภาพในการสร้างพื้นที่ให้บริการที่กว้างใหญ่ ไปพร้อม ๆ กับความสะดวกในการเพิ่มขยายขีดความสามารถในการรองรับข้อมูลข่าวสาร ต่างจากเครือข่าย 2G โดยทั่วไปที่ปัจจุบันเริ่มประสบกับปัญหาการจัดสรรความถี่ที่ไม่เพียงพอต่อการขยายเครือข่าย เนื่องจากเป็นระบบแบบแถบความถี่แคบ (Narrow Band)
6. กลไกการทำงานภายในเครือข่าย W-CDMA เป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะมาตรฐาน IETF (Internet Engineering Task Force) ทำให้ผู้ประกอบการสามารถเปิดโอกาสให้พันธมิตรทางธุรกิจซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาโปรแกรมหรือบริการพิเศษต่าง ๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้ทำการพัฒนาสร้างบริการผ่านอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย โดยใช้ทักษะความสามารถและความชำนาญที่มีอยู่ เป็นการกระตุ้นให้เกิดบริการประเภท Non-Voice ได้สารพัดรูปแบบ
7. มีแนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถในรองรับการสื่อสารข้อมูลที่มีอัตราเร็วสูงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาสู่มาตรฐาน HSDPA ที่รองรับการสื่อสารข้อมูลด้วยอัตราเร็วที่สูงมากถึง 14 เมกะบิตต่อวินาที ในขณะที่มาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM ไม่สามารถพัฒนาให้รองรับการสื่อสารข้อมูลได้มากกว่าเทคโนโลยี EDGE ในปัจจุบัน ซึ่งรองรับข้อมูลได้ด้วยอัตราเร็ว 384 กิโลบิตต่อวินาที และในความเป็นจริงก็ไม่สามารถเปิดให้บริการด้วยอัตราเร็วถึงระดับดังกล่าวได้ เนื่องจากจะทำให้สถานีไม่สามารถรองรับบริการ Voice ได้อีกต่อไป
8. ในอนาคตมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G มีทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจนในการรวมตัวกับมาตรฐานสื่อสารไร้สายชนิดอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐาน Wireless LAN (IEEE802.11b/g) หรือ WiMAX (IEEE802.16d/e/e+) ทำให้ผู้ใช้บริการเครือข่ายไร้สายสามารถเคลื่อนย้ายไปใช้งานในเครือข่ายใด ๆ ก็ได้ตามความเหมาะสมทางภูมิประเทศ โดยยังคงได้รับการดูแลโดยผู้ให้บริการเครือข่าย 3G
ความสำคัญต่าง ๆ เหล่านี้เองที่เป็นแรงผลักดันให้ผู้ประกอบการโทรศัพท์เคลื่อนที่ GSM จำนวนมากทั่วโลก รวมนักลงทุนหน้าใหม่ ให้ความสำคัญสำหรับการแสวงหาสิทธิ์ในการเปิดให้บริการเครือข่าย 3G และมีแผนกำหนดเปิดให้บริการเทคโนโลยี W-CDMA ดังมีข้อมูลแสดงในรูปที่ 8 โดยเฉพาะยักษ์ใหญ่ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่อันดับต้น ๆ ของโลก 8 รายได้ตัดสินใจเลือกมาตรฐาน W-CDMA เป็นเทคโนโลยี 3G ดังแสดงในรูปที่ 9
ในท้ายที่สุด ความสมบูรณ์แบบในการรองรับธุรกิจ Non-Voice ของมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA จะช่วยผลักดันให้เกิดห่วงโซ่ธุรกิจที่สมบูรณ์แบบ ดังแสดงในรูปที่ 10 แม้จะมีความพยายามในกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจโทรคมนาคมภายในประเทศที่จะผลักดันให้เกิดการประสานผลประโยชน์อย่างลงตัวระหว่างผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2G/2.5G/2.75G กับผู้ประกอบการสื่อข้อมูลต่าง ๆ มาก่อนหน้านี้ แต่เนื่องจากข้อจำกัดของเครือข่ายในตระกูล GSM และ CDMA เองที่ไม่มีความยืดหยุ่นเพียงพอที่จะสร้างความประทับใจต่อผู้ใช้บริการ จึงทำให้เกิดการขาดช่วงของความสมดุลในการผสานผลประโยชน์ เมื่อพิจารณาจากความสำเร็จของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ FOMA ของบริษัท NTT DoCoMo ซึ่งเป็นผู้ให้บริการรายแรกที่เปิดให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA และประสบความสำเร็จในการดึงศักยภาพของเครือข่าย W-CDMA ให้เกื้อหนุนต่อความลงตัวสำหรับการร่วมมือในธุรกิจ Non-Voice ในประเทศญี่ปุ่นอย่างงดงาม ต่อเนื่องด้วยความคืบหน้าในการสานต่อโครงสร้างธุรกิจ Non-Voice ในประเทศจีนและอีกหลาย ๆ ประเทศ จึงสรุปได้ว่ามาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G แบบ W-CDMA จะเป็นการเปิดประตูสู่ธุรกิจ Non-Voice ในประเทศไทยในอนาคตอันใกล้
อ้างอิง http://th.wikipedia.org/wiki
Friday, 22 January 2010
Basic Korean Pratice Download
Basic Korean Pratice Download
ดาวน์โหลดไฟล์เสียง...แบบฝึกหัดภาษาเกาหลีเบื้องต้นได้ที่นี่
Basic Korean Chapter 1 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 1
Say Hello in Korean
http://91b14551.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 2 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 2
Airport Korean
http://0663caba.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 3 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 3
Hopital Korean
http://db8c2221.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 4 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 4
Sport Meseum
http://f786f917.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 5 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 5
Bank Korean
http://ff9c7656.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 6 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 6
Car Care Korean
http://fdc9521b.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 7 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 7
Market Korean
http://1a950605.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 8 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 8
Ask the way in Korean
http://045daec5.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 9 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 9
Hotel in Korean
http://d7d04467.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 10 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 10
Taxi in Korean
http://22156d10.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 11 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 11
Factory and workers
http://ffbe5336.linkbucks.com/ 11.1
http://96c2ffb7.linkbucks.com/ 11.2
http://875947fc.linkbucks.com/ 11.3
http://be9f0eaf.linkbucks.com/ 11.4
Basic Korean Chapter 12 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 12
http://528497e1.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 13 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 13
http://96d937ef.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 14 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 14
http://f5abfee0.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 15 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 15
http://8c90d641.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 16 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 16
http://0b375990.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 17 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 17
http://640df9ca.linkbucks.com/
http://eb4cea9b.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 18 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 18
http://1e87f28e.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 19 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 19
http://af3f1544.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 20 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 20
http://d2ca129a.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 21 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 21
http://33f857cf.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 22 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 22
http://fd851c9e.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 23 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 23
http://61c524b9.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 24 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 24
http://26e8d040.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 25 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 25
http://f954dd7e.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 26 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 26
http://befa0d2c.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 27 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 27
http://47315e37.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 28 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 28
http://dc0c89f5.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 29 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 29
http://70f07c1f.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 30 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 30
http://6e53e32b.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 31 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 31
http://3230a3ad.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 32 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 32
http://77750366.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 33 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 33
http://0c0770bb.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 34 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 34
http://5f3c7bf6.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 35 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 35
http://6248f4ba.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 36 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 36
http://2837f459.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 37 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 37
http://f09e09d5.linkbucks.com/
ดาวน์โหลดไฟล์เสียง...แบบฝึกหัดภาษาเกาหลีเบื้องต้นได้ที่นี่
Basic Korean Chapter 1 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 1
Say Hello in Korean
http://91b14551.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 2 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 2
Airport Korean
http://0663caba.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 3 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 3
Hopital Korean
http://db8c2221.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 4 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 4
Sport Meseum
http://f786f917.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 5 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 5
Bank Korean
http://ff9c7656.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 6 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 6
Car Care Korean
http://fdc9521b.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 7 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 7
Market Korean
http://1a950605.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 8 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 8
Ask the way in Korean
http://045daec5.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 9 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 9
Hotel in Korean
http://d7d04467.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 10 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 10
Taxi in Korean
http://22156d10.linkbucks.com
Basic Korean Chapter 11 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 11
Factory and workers
http://ffbe5336.linkbucks.com/ 11.1
http://96c2ffb7.linkbucks.com/ 11.2
http://875947fc.linkbucks.com/ 11.3
http://be9f0eaf.linkbucks.com/ 11.4
Basic Korean Chapter 12 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 12
http://528497e1.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 13 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 13
http://96d937ef.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 14 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 14
http://f5abfee0.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 15 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 15
http://8c90d641.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 16 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 16
http://0b375990.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 17 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 17
http://640df9ca.linkbucks.com/
http://eb4cea9b.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 18 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 18
http://1e87f28e.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 19 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 19
http://af3f1544.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 20 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 20
http://d2ca129a.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 21 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 21
http://33f857cf.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 22 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 22
http://fd851c9e.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 23 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 23
http://61c524b9.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 24 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 24
http://26e8d040.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 25 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 25
http://f954dd7e.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 26 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 26
http://befa0d2c.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 27 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 27
http://47315e37.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 28 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 28
http://dc0c89f5.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 29 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 29
http://70f07c1f.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 30 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 30
http://6e53e32b.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 31 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 31
http://3230a3ad.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 32 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 32
http://77750366.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 33 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 33
http://0c0770bb.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 34 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 34
http://5f3c7bf6.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 35 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 35
http://6248f4ba.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 36 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 36
http://2837f459.linkbucks.com/
Basic Korean Chapter 37 โหลดภาษาเกาหลีเบื้องต้น บทที่ 37
http://f09e09d5.linkbucks.com/
Tuesday, 12 January 2010
Earn money with AlertPay $10 USD / 1 Referral
Earn money with AlertPay $10 USD
Earn money with AlertPay! Each time you refer someone to AlertPay, you could earn up to $10 USD. The more people you bring to AlertPay, the more we will reward you.
Helping you earn more money -- think of this as our way of saying thank you.
Here are the ways you can integrate your referral link:
Referral
1.A unique referral hyperlink for your friends and customers. When users click on your link, they are prompted to sign up for an AlertPay account.
Example: Your referral URL is: https://www.alertpay.com/?8aNZ8mnBKy%2fihyzLDpXz6g%3d%3d
Link Code
2. A text link is an ad format that looks just like a standard hyperlink and will take on the font and color characteristics of your page.
Example: Send and receive money online with AlertPay
3.Banner Code
An ad format that looks like a banner image. When users click on your banner, they will be directed to your referral.
Start to make money online easily now!
Refer to our Alertpay site:
Sign up Now here
Start make $10 USD per 1 your own Referral!
Send and receive money online with AlertPay
Earn money with AlertPay! Each time you refer someone to AlertPay, you could earn up to $10 USD. The more people you bring to AlertPay, the more we will reward you.
Helping you earn more money -- think of this as our way of saying thank you.
Here are the ways you can integrate your referral link:
Referral
1.A unique referral hyperlink for your friends and customers. When users click on your link, they are prompted to sign up for an AlertPay account.
Example: Your referral URL is: https://www.alertpay.com/?8aNZ8mnBKy%2fihyzLDpXz6g%3d%3d
Link Code
2. A text link is an ad format that looks just like a standard hyperlink and will take on the font and color characteristics of your page.
Example: Send and receive money online with AlertPay
3.Banner Code
An ad format that looks like a banner image. When users click on your banner, they will be directed to your referral.
Start to make money online easily now!
Refer to our Alertpay site:
Sign up Now here
Start make $10 USD per 1 your own Referral!
Send and receive money online with AlertPay
Monday, 11 January 2010
เขียนบล็อก Blog ทำเงินกับ Yuwie.com
เขียนบล็อก Blog ทำเงินกับ Yuwie.com
ร่วมกันสร้างรายได้มหาศาล โดยไม่ต้องเสียเงินลงทุน!!
ใครต้องการมีรายได้เสริมมากกว่า 100,000 บาทต่อเดือน
ใครต้ิองการโกยเงินดอลลาร์เข้าประเทศ
ใครต้องการมีเพื่อนมากมายทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ
YUWIE.COM คือทางเลือกที่ดีที่สุดของคุณ
ถ้าคุณรู้จัก Hi5 หรือ My space อย่ารอช้า!!
Yuwie ทำทุกอย่างได้เหมือนกับ Hi5 และ My space แต่เราได้เงิน!!
จ่ายจริง 1000% คนไทยได้รับมาแล้ว ดูหลักฐานคลิ๊ก!! http://ww3.yuwie.com/khantiko/
สมัครฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่ต้องเข้าอบรม ไม่ต้องเดินทาง ไม่ต้องขายของ ไม่ต้องรอคลิกโฆษณา มีคู่มือสอนใช้งาน YUWIE ครบทุกอย่างฟรี!!
สิทธิพิเศษ!! สำหรับเพื่อนๆ ที่สมัครเป็นสมาชิกภายใต้ลิงค์ http://ww3.yuwie.com/yuwie.asp?r=641846 มีข้อเสนอสุดแจ่มมาก ๆ อยากรู้สมัครแล้วส่ง Message มาคุยกันนะ ^^
รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Yuwie คลิก >> http://ww3.yuwie.com/blog/?id=641846
จ่ายจริง 1000% คนไทยได้รับมาแล้ว ดูหลักฐานคลิ๊ก!! http://ww3.yuwie.com/khantiko/
สนใจสมัคร คลิกลิ้งค์ด้านล่างนี้ แล้วคลิก SIGN UP NOW
http://www.yuwie.com/phomthong
เลยจ๊า...
Refer to http://ww7.yuwie.com/blog/?id=641846&r=641846&linkid=69218
Sign at http://ww3.yuwie.com/
Sign Up and Start Make big Money online at http://www.yuwie.com/phomthong
สมัครและเริ่มทำเงินจากการสร้างบล็อกได้ทันที่ที่นี่
http://www.yuwie.com/phomthong
ร่วมกันสร้างรายได้มหาศาล โดยไม่ต้องเสียเงินลงทุน!!
ใครต้องการมีรายได้เสริมมากกว่า 100,000 บาทต่อเดือน
ใครต้ิองการโกยเงินดอลลาร์เข้าประเทศ
ใครต้องการมีเพื่อนมากมายทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ
YUWIE.COM คือทางเลือกที่ดีที่สุดของคุณ
ถ้าคุณรู้จัก Hi5 หรือ My space อย่ารอช้า!!
Yuwie ทำทุกอย่างได้เหมือนกับ Hi5 และ My space แต่เราได้เงิน!!
จ่ายจริง 1000% คนไทยได้รับมาแล้ว ดูหลักฐานคลิ๊ก!! http://ww3.yuwie.com/khantiko/
สมัครฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่ต้องเข้าอบรม ไม่ต้องเดินทาง ไม่ต้องขายของ ไม่ต้องรอคลิกโฆษณา มีคู่มือสอนใช้งาน YUWIE ครบทุกอย่างฟรี!!
สิทธิพิเศษ!! สำหรับเพื่อนๆ ที่สมัครเป็นสมาชิกภายใต้ลิงค์ http://ww3.yuwie.com/yuwie.asp?r=641846 มีข้อเสนอสุดแจ่มมาก ๆ อยากรู้สมัครแล้วส่ง Message มาคุยกันนะ ^^
รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Yuwie คลิก >> http://ww3.yuwie.com/blog/?id=641846
จ่ายจริง 1000% คนไทยได้รับมาแล้ว ดูหลักฐานคลิ๊ก!! http://ww3.yuwie.com/khantiko/
สนใจสมัคร คลิกลิ้งค์ด้านล่างนี้ แล้วคลิก SIGN UP NOW
http://www.yuwie.com/phomthong
เลยจ๊า...
Refer to http://ww7.yuwie.com/blog/?id=641846&r=641846&linkid=69218
Sign at http://ww3.yuwie.com/
Sign Up and Start Make big Money online at http://www.yuwie.com/phomthong
สมัครและเริ่มทำเงินจากการสร้างบล็อกได้ทันที่ที่นี่
http://www.yuwie.com/phomthong
Wednesday, 6 January 2010
HAPPY NEW YEAR
HAPPY NEW YEAR
Have a positive attitude toward life.
จงมีทัศนคติเชิงบวกต่อชีวิต
Accept life, work & family as gifts of God.
จงยอมรับชีวิต งาน และครอบครัวว่าเป็นของขวัญมาจากพระเจ้า
Persevere to do what is right in God’s sight.
จงพากเพียรกระทำสิ่งที่ถูกต้องในสายพระเนตรของพระเจ้า
Pray& plan depending on God in all matters of life.
จงอธิษฐานและวางแผนโดยพึ่งพิงพระเจ้าในทุกเรื่องราวของชีวิต
Yield your plan & work to God
จงมอบแผนงานและอาชีพการงานของคุณแด่พระเจ้า
Never work alone but as a team member.
อย่าทำงานแบบโดดเดี่ยวแต่จงทำงานเป็นทีม
Enjoy eating & working.
จงเพลิดเพลินกับการรับประทานและการทำงาน
Work your best & be satisfied with your work.
จงทำงานของคุณให้ดีที่สุดและพอใจกับผลงานของคุณ
Yield your future to God & His sufficiency.
จงมอบอนาคตของคุณแด่พระเจ้าและการจัดเตรียมของพระองค์
Entrust yourself to God & Encourage one another.
จงวางใจในพระเจ้า และหนุนใจซึ่งกันและกัน
Accept God’s Wisdom, Knowledge & joy.
จงยอมรับสติปัญญา ความรอบรู้ และความชื่นชมยินดีจากพระเจ้า
Respect all men & revere God.
จงให้เกียรติแก่ทุกคนและยำเกรงพระเจ้า
Have a positive attitude toward life.
จงมีทัศนคติเชิงบวกต่อชีวิต
Accept life, work & family as gifts of God.
จงยอมรับชีวิต งาน และครอบครัวว่าเป็นของขวัญมาจากพระเจ้า
Persevere to do what is right in God’s sight.
จงพากเพียรกระทำสิ่งที่ถูกต้องในสายพระเนตรของพระเจ้า
Pray& plan depending on God in all matters of life.
จงอธิษฐานและวางแผนโดยพึ่งพิงพระเจ้าในทุกเรื่องราวของชีวิต
Yield your plan & work to God
จงมอบแผนงานและอาชีพการงานของคุณแด่พระเจ้า
Never work alone but as a team member.
อย่าทำงานแบบโดดเดี่ยวแต่จงทำงานเป็นทีม
Enjoy eating & working.
จงเพลิดเพลินกับการรับประทานและการทำงาน
Work your best & be satisfied with your work.
จงทำงานของคุณให้ดีที่สุดและพอใจกับผลงานของคุณ
Yield your future to God & His sufficiency.
จงมอบอนาคตของคุณแด่พระเจ้าและการจัดเตรียมของพระองค์
Entrust yourself to God & Encourage one another.
จงวางใจในพระเจ้า และหนุนใจซึ่งกันและกัน
Accept God’s Wisdom, Knowledge & joy.
จงยอมรับสติปัญญา ความรอบรู้ และความชื่นชมยินดีจากพระเจ้า
Respect all men & revere God.
จงให้เกียรติแก่ทุกคนและยำเกรงพระเจ้า
Subscribe to:
Posts (Atom)